ฉบับร่าง:มิตซูบิชิ เอ5เอ็ม
ฉบับร่างนี้ถูกตีกลับ เมื่อ 9 กันยายน 2567 โดย Timekeepertmk (คุย) เนื้อหาบทความยังสั้นอยู่มาก และยังขาดการอ้างอิงในบรรทัดที่ดี
ขอความช่วยเหลือ
วิธีปรับปรุงบทความของคุณ
คุณยังสามารถดู วิกิพีเดีย:บทความคัดสรร และ วิกิพีเดีย:บทความคุณภาพ เพื่อค้นหาตัวอย่างบทความที่ดีที่สุดของวิกิพีเดียในหัวข้อที่คล้ายกับบทความที่คุณแจ้งทบทวน ทรัพยากรการแก้ไข
|
นี่คือบทความฉบับร่างซึ่งเปิดโอกาสให้ทุกคนสามารถแก้ไขได้ โปรดตรวจสอบว่าเนื้อหามีลักษณะเป็นสารานุกรมและมีความโดดเด่นควรแก่การรู้จักก่อนที่จะเผยแพร่เป็นบทความลงในวิกิพีเดีย กรุณาอดทนรอผู้เขียนคนอื่นมาช่วยตรวจให้ อย่าย้ายหน้าไปเป็นบทความเองโดยพลการ ค้นหาข้อมูล: Google (books · news · newspapers · scholar · free images · WP refs) · FENS · JSTOR · NYT · TWL สำคัญ: ถ้าลบป้ายนี้ออกจะทำให้บันทึกหน้าไม่ได้ ผู้แก้ไขหน้านี้คนล่าสุด คือ 58.8.6.247 (พูดคุย | เรื่องที่เขียน) เมื่อ 4 นาทีก่อน (ล้างแคช) |
เอ5เอ็ม | |
---|---|
หน้าที่ | เครื่องบินขับไล่บนเรือบรรทุกเครื่องบิน |
ประเทศผู้ผลิต | ญี่ปุ่น |
ผู้ผลิต | มิตซูบิชิเฮฟวีอินดัสทรีส์ |
ผู้ออกแบบ | จิโร โฮริโคชิ |
เที่ยวบินแรก | 4 กุมภาพันธ์ 1935 |
เริ่มใช้ | 1936 |
ปลดระวาง | 1945 |
ผู้ใช้หลัก | กองการบินทหารเรือมหาจักรวรรดิญี่ปุ่น ( ไอเจเอ็น) |
จำนวนที่ถูกผลิต | 1,094 |
รุ่น |
มิตซูบิชิ เอ5เอ็ม (อังกฤษ: Mitsubishi A5M) ชื่อเล่น คลอด เป็นเครื่องบินขับไล่บนเรือบรรทุกเครื่องบิน ที่ผลิตโดยมิตซูบิชิแอร์คราฟต์คอมปะนี ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของมิตซูบิชิเฮฟวีอินดัสทรีส์ และใช้โดยกองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น[1][2]
การออกแบบและการพัฒนา
[แก้]ในปี ค.ศ. 1934 กองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่นได้เตรียมข้อกำหนดสำหรับเครื่องบินรบขั้นสูง โดยต้องใช้ความเร็วสูงสุด 350 กม./ชม. (220 ไมล์ต่อชั่วโมง) ที่ความสูง 3,000 ม. (9,800 ฟุต) และสามารถไต่ระดับไปถึง 5,000 ม. (16,000 ฟุต) ได้ในเวลา 6.5 นาที[3]
ประจำการ
[แก้]คุณลักษณะ (มิตซูบิชิ เอ5เอ็ม4)
[แก้]- ผู้สร้าง: มิตซูบิชิแอร์คราฟต์คอมปะนี (ประเทศญี่ปุ่น)
- ประเภท: เครื่องบินขับไล่
- เครื่องยนต์: 1 × Nakajima Kotobuki 41
- กางปีก: 11 เมตร
- ยาว: 7.565 เมตร
- สูง: 3.27 เมตร
- พื้นที่ปีก: 17.8 ตารางเมตร
- น้ำหนักเปล่า: 1,216 กิโลกรัม
- น้ำหนักวิ่งขึ้นสูงสุด: 1,671 กิโลกรัม
- อัตราเร็วสูงสุด: 435 กิโลเมตร/ชั่วโมง ที่ระดับความสูง 3,000 เมตร
- รัศมีทำการรบ: 1,201 กิโลเมตร
- อาวุธ: ปืนกล Type 97 ขนาด 7.7 มม. 2 กระบอก
- ระเบิด: ระเบิดขนาด 30 กก. 2 ลูก
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Dmitriy Khazanov, Aleksander Medved, Edward M. Young, Tony Holmes (2019). Air Combat: Dogfights of World War II. Bloomsbury Publishing. p. 102.
{{cite book}}
: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์) - ↑ Francillon, René J. (1979). Japanese Aircraft of the Pacific War. London: Putnam & Company Limited. pp. 342–349. ISBN 0-370-30251-6.
- ↑ Green & Swanborough 1982, p. 27