มิตซูบิชิ จี4เอ็ม

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จี4เอ็ม
หน้าที่ เครื่องบินทิ้งระเบิดกลาง/เครื่องบินทิ้งระเบิดตอร์ปิโด
ประเทศผู้ผลิต  ญี่ปุ่น
ผู้ผลิต มิตซูบิชิ
ผู้ออกแบบ Kiro Honjo
เที่ยวบินแรก 23 ตุลาคม 1939
เริ่มใช้ 2 เมษายน 1941[1]
ปลดระวาง 1945
ผู้ใช้หลัก กองทัพอากาศทหารเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น
การผลิต 1939–1945
จำนวนที่ถูกผลิต 2,435

มิตซูบิชิ จี4เอ็ม (อังกฤษ: Mitsubishi G4M) เป็นเครื่องบินทิ้งระเบิดขนาดกลางของญี่ปุ่นในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ใช้โดยกองทัพอากาศทหารเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น

ประจำการ[แก้]

ธงของประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น

หลังสงคราม[แก้]

จี4เอ็ม
ธงของประเทศอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย
 สาธารณรัฐประชาชนจีน
 สหราชอาณาจักร
 สหรัฐ

คุณลักษณะ (จี4เอ็ม1 แบบ 11)[แก้]

มิตซูบิชิ จี4เอ็ม3 เบ็ตตี้

ข้อมูลจาก Airreview's Japanese Navy Aircraft in the Pacific War,[2] Japanese Aircraft of the Pacific War[3]

ลักษณะทั่วไป

  • ลูกเรือ: 7 (pilot, co-pilot, navigator/bombardier/nose gunner, captain/top turret gunner, radio operator/waist gunner, engine mechanic/waist gunner, tail gunner)
  • ความยาว: 19.97 m (65 ft 6 in)
  • ระยะระหว่างปลายปีกสองข้าง: 24.89 m (81 ft 8 in)
  • ความสูง: 4.9 m (16 ft 1 in) in rigging position
  • พื้นที่ปีก: 78.125 m2 (840.93 sq ft)
  • Airfoil: root: MAC118 mod (12.5%); tip:MAC118 mod (10%)[4]
  • น้ำหนักเปล่า: 6,741 kg (14,861 lb)
  • น้ำหนักรวม: 9,500 kg (20,944 lb)
  • น้ำหนักบินขึ้นสูงสุด: 12,860 kg (28,351 lb)
  • Powerplant: 2 × Mitsubishi MK4A Kasei 11 14-cylinder air-cooled radial piston engines, 1,140 kW (1,530 hp) each for take-off
1,050 kW (1,410 hp) at 2,000 m (6,562 ft)
1,000 kW (1,340 hp) at 4,000 m (13,123 ft)

สมรรถนะ

  • ความเร็วสูงสุด: 428 km/h (266 mph, 231 kn) at 4,200 m (13,780 ft)
  • ความเร็วที่เครื่องบินบินได้: 315 km/h (196 mph, 170 kn) at 3,000 m (9,843 ft)
  • Stall speed: 120 km/h (75 mph, 65 kn)
  • พิสัย: 2,852 km (1,772 mi, 1,540 nmi)
  • Ferry range: 5,040 km (3,130 mi, 2,720 nmi) [N 1]
  • Rate of climb: 9.166 m/s (1,804.3 ft/min)

Armament

อ้างอิง[แก้]

  1. Ferkl, Martin (2002). Mitsubishi G4M Betty. Revi Publications. p. 6. ISBN 8085957094.
  2. Aoki 1972, pp. 128–136.
  3. Francillon, René J. (1979). Japanese Aircraft of the Pacific War. London: Putnam & Company Limited. pp. 378–387. ISBN 0-370-30251-6.
  4. Lednicer, David. "The Incomplete Guide to Airfoil Usage". m-selig.ae.illinois.edu. สืบค้นเมื่อ 16 April 2019.
  1. Serial no. 603 and later had 30 mm (1.2 in) thick natural rubber plates covering the outside bottoms of the wing fuel tanks but this decreased their service range by 10%.