ข้ามไปเนื้อหา

จีนี่ เรคคอร์ด

หน้าถูกกึ่งป้องกัน
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก จีนี่เรคอร์ดส)

จีนี่ เรคคอร์ด
บริษัทแม่จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ (2541-2566)
จีเอ็มเอ็ม มิวสิค (2566-ปัจจุบัน)
ก่อตั้ง1 มกราคม 2541 (2541-01-01)
ผู้ก่อตั้งวิเชียร ฤกษ์ไพศาล
สถานะยังดำเนินกิจการอยู่
จัดจำหน่ายเอ็มจีเอ
GMM Music Publishing International
แนวเพลงป็อป ร็อก
ประเทศต้นกำเนิดไทย
ที่ตั้งอาคารจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่เพลส
เลขที่ 50 ถนนอโศกมนตรี
แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร
เว็บไซต์www.genie-records.com

จีนี่ เรคคอร์ด (อังกฤษ: Genie Records) เป็นชื่อสังกัดค่ายเพลงย่อยในเครือจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ (ปัจจุบันถูกโอนย้ายไปอยู่ในจีเอ็มเอ็ม มิวสิค) เน้นแนวเพลงร็อกเป็นหลัก ก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2541 โดยวิเชียร ฤกษ์ไพศาล ปัจจุบันมีผู้บริหารคือ พูลศักดิ์ จตุระบูล (อ๊อฟ บิ๊กแอส)[1]

ประวัติ

ศิลปิน

ปัจจุบัน

ศิลปินเดี่ยว
ศิลปินเดี่ยว
เปิดตัว ชื่อศิลปิน ชื่อศิลปิน
2542 ณพสิน แสงสุวรรณ
2543 พลพล
2544
(ย้ายเข้ามา 2560)
อีฟ ปานเจริญ
2545
(ย้ายเข้ามา 2546-2549, 2559)
ศิริศิลป์ โชติวิจิตร
2547
(ย้ายเข้ามา 2564)
อนุวัฒน์ สงวนศักดิ์ภักดี
2548
(ย้ายเข้ามา 2560)
เจษฎา ลัดดาชยาพร
2549
(ย้ายเข้ามา 2549-2557,2561)
ไปรยา มาลาศรี
2559
(ย้ายเข้ามา 2564)
พัชรพล วงศาโรจน์
2561
(ย้ายเข้ามา 2562)
ภควัต หริกุล
2562
(ย้ายเข้ามา 2563)
ภูวศิษฐ์ อนันต์พรสิริ
2563
(ย้ายเข้ามา 2564)
นัทธมน ทองชิว
2565 ขมิ้น กิ่งศักดิ์
วงดนตรี
ศิลปินกลุ่ม
เปิดตัว ชื่อศิลปิน จำนวนสมาชิก นักร้องนำ ชื่อสมาชิก
2537
(ย้ายเข้ามา 2543)
พาราด็อกซ์ 4 ต้า
2540
(ย้ายเข้ามา 2547)
บิ๊กแอส 5 เจ๋ง
2541
(ย้ายเข้ามา 2557)
ลาบานูน 3 เมธี
2544
(ย้ายเข้ามา 2547)
เรโทรสเปกต์ 4 เก้า
2544
(ย้ายเข้ามา 2550-2552,2558)
โปเตโต้ 5 ปั๊บ
2545
(ย้ายเข้ามา 2547)
บอดี้สแลม 5 ตูน
2546
(ย้ายเข้ามา 2547)
สวีตมัลเล็ต 4 เต๋า
2548
(ย้ายเข้ามา 2563)
โลโมโซนิก 4 บอย
2549
(ย้ายเข้ามา 2553)
อินสติงต์ 2 ปาล์ม
2550 เคลียร์ 3 แพท
2555
(ย้ายเข้ามา 2560)
เยสเซอร์เดส์ 4 อัทธ์
2557
(ย้ายเข้ามา 2563)
เดอะไวเทสโครว 4 ไตเติ้ล
2559
(ย้ายเข้ามา 2560)
เปเปอร์เพลนส์ 2 ฮาย
2559
(ย้ายเข้ามา 2564)
บอมบ์แอทแทร็ค 5 เต้
2560
(ย้ายเข้ามา 2565)
คล็อกเวิร์คโมชั่นเลส 4 กัน
2562 ลิงรมย์ 5 พีท
2562 ฟูลสเต็ป 5 มาร์ค
2562
(ย้ายเข้ามา 2564)
วอลล์โรลเลอร์ส 4 ภูร์
2564
(ย้ายเข้ามา 2565)
ทูพีเพิล 2 นิค,แนต
2565 นิว ทราเวลเลอร์ส 5 เอก

อดีต

ระยะเวลา

สมาชิก ระยะเวลา 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567
ศิลปินในปัจจุบัน
(หนุ่ม) กะลา 2542–ปัจจุบัน
พลพล 2543–ปัจจุบัน
พาราด็อกซ์ 2543–ปัจจุบัน
(กวาง) เอบีนอร์มัล 2546–2550, 2559–ปัจจุบัน
บิ๊กแอส 2547–ปัจจุบัน
บอดี้แสลม 2547–ปัจจุบัน
สวีตมัลเล็ต 2547–ปัจจุบัน
เรโทรสเปกต์ 2547–ปัจจุบัน
เคลียร์ 2550–ปัจจุบัน
อินสติงต์ 2550–ปัจจุบัน
โปเตโต้ 2550–2552, 2558–ปัจจุบัน
ลาบานูน 2557–ปัจจุบัน
ปั้น แบชเชอร์ 2560–ปัจจุบัน
เยสเซอร์เดส์ 2560–ปัจจุบัน
ปาล์มมี่ 2560–ปัจจุบัน
เปเปอร์ เพลนส์ 2562–ปัจจุบัน
(ฟักแฟง) โนมอร์เทียร์ 2549–2557, 2561-ปัจจุบัน
โลโมโซนิก 2563–ปัจจุบัน
โจอี้ ภูวศิษฐ์ 2563–ปัจจุบัน
บอมบ์แอทแทร็ค 2564–ปัจจุบัน
ศิลปินในอดีต
วรรธนา วีรยวรรธน 2541-2544
บูโดกัน 2543-2549
ดาจิม 2545-2550
ลุลา 2547
ซินญอริต้า 2547-2551
ป้าง นครินทร์ 2550–2565
อีโบลา 2552-2554
ค็อกเทล 2554–2564
ทเวนตีไฟฟ์อาเวอส์ 2557–2563
เดอะเยอร์ส 2557–2566
เดอะมูสส์ 2552–2567
สมาชิก ระยะเวลา 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567

โปรเจ็กต์พิเศษ

  • อัลบั้ม Intro 2000 (2542)
  • อัลบั้ม Meeting (2544)
  • เพลงประกอบละคร สุภาพบุรุษลูกผู้ชาย (2546)
  • อัลบั้ม Meeting 2 Meeting Again (2547)
  • อัลบั้ม Showroom Vol.1 (2547)
  • อัลบั้ม Showroom Vol.2 (2548)
  • อัลบั้ม วันฟ้าใหม่ (2548)
  • อัลบั้ม Play (2552)
  • เพลงประกอบภาพยนตร์ SuckSeed ห่วยขั้นเทพ (2554)
  • อัลบั้ม Genie Fest 16 ปีแห่งความร็อก (2557)
  • อัลบั้ม Showroom Vol.3 (2559) ++ ผลงานออกบางส่วน
  • อัลบั้ม Genie Fest 19 ปีกว่าจะร็อกเท่าวันนี้ (2561)
  • อัลบั้ม Play 2 (2561)

คอนเสิร์ตรวมศิลปิน

ชื่อคอนเสิร์ต วันที่แสดง ศิลปิน แขกรับเชิญ สถานที่
Genie Fest 16 ปีแห่งความร็อก 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 รวมศิลปิน ปั๊บ Potato
เอ๋ Ebola
ลานกิจกรรม ริมทะเลสาบเมืองทองธานี
Genie Fest 19 ปี กว่าจะร็อกเท่าวันนี้ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 รวมศิลปิน UrboyTJ
อั๋น Sweet Mullet
ฟักแฟง No More Tear
ราชมังคลากีฬาสถาน

อ้างอิง

  1. "นิค วิเชียร ฤกษ์ไพศาล Stage Of Music Industry". The GuitarMag. 8 เมษายน 2023. สืบค้นเมื่อ 11 ตุลาคม 2024.{{cite news}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)

แหล่งข้อมูลอื่น