จักรวรรดิมาลี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก Mali Empire)
จักรวรรดิมาลี

Manden Kurufa
คริสต์ทศวรรษ 1230–คริสต์ทศวรรษ 1600
ธงชาติจักรวรรดิมาลี
ธงชาติ
จักรวรรดิมาลี (ราว ค.ศ. 1350)
จักรวรรดิมาลี (ราว ค.ศ. 1350)
สถานะจักรวรรดิ
เมืองหลวงนิอานิ และต่อมาคังกาบา
ภาษาทั่วไปมันดิงคา
ศาสนา
อิสลาม
การปกครองราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ
มันซา (จักรพรรดิ) 
• ค.ศ. 1235-1255
Sundiata Keita (แรก)
• ราวคริสต์ศตวรรษที่ 17
มาห์มุดที่ 4 (สุดท้าย)
สภานิติบัญญัติกบารา
-
-
ประวัติศาสตร์ 
• ก่อตั้ง
คริสต์ทศวรรษ 1230
• เมืองหลวงย้ายจากนิอานิไปคังกาบา
ค.ศ. 1559
• จักรวรรดิถูกแบ่งระหว่างพระราชโอรสของจักรพรรดิ
คริสต์ทศวรรษ 1600
พื้นที่
ค.ศ. 1380[1]1,100,000 ตารางกิโลเมตร (420,000 ตารางไมล์)
ประชากร
• ค.ศ. 1450[2]
45000000
สกุลเงินผงทอง
(เกลือ, ทองแดง และ หอย)
ก่อนหน้า
ถัดไป
จักรวรรดิกานา
จักรวรรดิซองไฮ
จักรวรรดิโวลอฟ
จักรวรรดิคาบู
จักรวรรดิฟูโล
สัญลักษณ์ประจำจักรวรรดิ: อินทรี
สัตว์ศักดิ์สิทธิ์: อินทรีและสัตว์อื่นขึ้นอยู่กับตระกูล (สิงโต, หมูป่า และอื่นๆ)

จักรวรรดิมาลี หรือ จักรวรรดิมานดิง หรือ มานเดนคูรูฟา (อังกฤษ: Mali Empire หรือ Manding Empire หรือ Manden Kurufa) คือวัฒนธรรมแอฟริกาตะวันตกของชนมันดิงคา ที่รุ่งเรืองระหว่างราว คริสต์ทศวรรษ 1230 จนถึง คริสต์ทศวรรษ 1600 จักรวรรดิก่อตั้งโดย Sundiata Keita และมีชื่อเสียงถึงความมั่งคั่งของประมุขโดยเฉพาะมันซามูซา จักรวรรดิมาลีมีอิทธิพลทางวัฒนธรรมอันลึกซึ้งต่อแอฟริกาตะวันตก ซึ่งทำให้เกิดการเผยแพร่ของภาษา กฎหมาย และประเพณีตามลำแม่น้ำไนเจอร์ อาณาบริเวณของมาลีรวมกันมีขนาดใหญ่กว่ายุโรปตะวันตกและประกอบด้วยอาณาจักรบริวารและจังหวัดต่างๆ

อ้างอิง[แก้]

  1. Turchin, Peter and Jonathan M. Adams and Thomas D. Hall: "East-West Orientation of Historical Empires and Modern States", page 222. Journal of World-Systems Research, Vol. XII, No. II, 2006
  2. Walker, Sheila S.: "African roots/American cultures: Africa in the creation of the Americas", page 127. Rowman & Littlefield, 2001
  • Niane, D.T. (1994). Sundiata: An Epic of Old Mali. Harlow: Longman African Writers. pp. 101 Pages. ISBN 0-58226-475-8.
  • Niane, D.T. (1975). Recherches sur l’Empire du Mali au Moyen Âge. Paris: Présence Africaine. pp. 112 Pages.

ดูเพิ่ม[แก้]