จักรวรรดิทิเบต

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จักรวรรดิทิเบต

བོད་ཆེན་པོ
Bod chen po
ค.ศ. 618–ค.ศ. 842
[ต้องการอ้างอิง]
ธงของพระเจ้าซงแจ็นกัมโป จักรพรรดิทิเบต (คริสต์ศตวรรษที่ 7)
แผนที่จักรวรรดิทิเบตในช่วงสูงสุด (ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 8-ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 9)[1]
แผนที่จักรวรรดิทิเบตในช่วงสูงสุด (ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 8-ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 9)[1]
เมืองหลวงลาซา
ภาษาทั่วไปกลุ่มภาษาทิเบต
ศาสนา
ศาสนาพุทธแบบทิเบต, บอน
ความสัมพันธ์ทางครอบครัวเผ่าเท็งกรี
การปกครองราชาธิปไตย
จักรพรรดิ 
• 618–650
ซงแจ็นกัมโป, จักรพรรดิองค์ที่ 33 แห่งราชวงศ์ยาร์ลุง
• 650–655
คุงซงคุงแจ็น, จักรพรรดิองค์ที่ 34 แห่งราชวงศ์ยาร์ลุง
• 655–676
มังซงมังแจ็น , จักรพรรดิองค์ที่ 35 แห่งราชวงศ์ยาร์ลุง
• 676–704
ชีตวีซงแจ็น, จักรพรรดิองค์ที่ 36 แห่งราชวงศ์ยาร์ลุง
• 680–743
ชีเตจุกแจ็น, จักรพรรดิองค์ที่ 37 แห่งราชวงศ์ยาร์ลุง
• 753–797
ชีซงเตแจ็น, จักรพรรดิองค์ที่ 38 แห่งราชวงศ์ยาร์ลุง
• 797–799
มูเนแจ็นโป, จักรพรรดิองค์ที่ 39 แห่งราชวงศ์ยาร์ลุง
• 800/804 – 815
ชีเตซงแจ็น, จักรพรรดิองค์ที่ 40 แห่งราชวงศ์ยาร์ลุง
• 815–838
รัลปาแจ็น, จักรพรรดิองค์ที่ 41 แห่งราชวงศ์ยาร์ลุง
• 838–842
ลังทาร์มา, จักรพรรดิองค์ที่ 42 แห่งราชวงศ์ยาร์ลุง
เลินเช็น (หัวหน้ารัฐมนตรี) 
• 652–667
การ์ตงแจ็นยวิลซุง
• 685–699
การ์ชีจิงแจ็นเชอ
• 782?–783
แง็นลัมตักจาลูคง
• 783–796
นานัมจังแกยแช็นลานัง
ปันเช็นโป (หัวหน้าพระ) 
• 798–?
ญังติงเงจินซังโป (คนแรก)
• ?–838
แช็นกาแปกยีเยินแต็น (คนสุดท้าย)
ยุคประวัติศาสตร์ปลายสมัยโบราณ
• ก่อตั้ง
ค.ศ. 618
• สิ้นสุด
ค.ศ. 842
พื้นที่
ประมาณ ค.ศ. 800[2][3]4,600,000 ตารางกิโลเมตร (1,800,000 ตารางไมล์)
ก่อนหน้า
ถัดไป
ซุมปา
ซังซุง
เกาชาง
ราชวงศ์ถัง

จักรวรรดิทิเบต (ทิเบต: བོད་ཆེན་པོ, ไวลี: bod chen po, พินอินทิเบต: pö qen bo, แปลว่า "ทิเบตใหญ่") หรือ ถู่ปัว (จีน: 吐蕃; พินอิน: Tǔbō / Tǔfān) คือจักรวรรดิที่ปกครองพื้นที่แถบที่ราบสูงทิเบตตั้งแต่ช่วง ค.ศ. 618-842 และยังขยายอำนาจไปตลอดแถบภาคตะวันตกของจีน ไปจนถึงเอเชียกลางและเอเชียใต้ ก่อตั้งขึ้นโดยพระเจ้าซงแจ็นกัมโป แต่จักรวรรดิทิเบตก็ได้ล่มสลายลงหลังจากที่กษัตริย์องค์สุดท้ายคือพระเจ้าลังทาร์มาได้สิ้นพระชนม์เนื่องจากเกิดความขัดแย้งเรื่องผู้สืบทอดราชบัลลังก์ระหว่างลูกชายสองคนคือยุมแต็นกับเออซุง

ประวัติศาสตร์[แก้]

สังคม[แก้]

สิ่งประดิษฐ์ที่ค้นพบของจักรวรรดิทิเบต
เครื่องปั้นดินเผาและขวดทองเก่า 1500 ปี พบที่สุสานในอัมโต
ถ้วยที่ทำจากหินมโนรา
แผ่นสังกะสีทองที่ทาด้วยตัวอักษร
ถ้วยทองแบบมีหูจับ

ดูเพิ่ม[แก้]

หมายเหตุ[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. Kapstein, Matthew T. (2006). "The Tibetan Empire, late eighth-early ninth centuries". The Tibetans. Chichester, West Sussex: Wiley-Blackwell. p. XX. ISBN 978-0-631-22574-4. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 March 2017. สืบค้นเมื่อ 8 August 2021 – โดยทาง Reed.edu.
  2. Turchin, Peter; Adams, Jonathan M.; Hall, Thomas D (December 2006). "East-West Orientation of Historical Empires". Journal of World-Systems Research. 12 (2): 222. ISSN 1076-156X. สืบค้นเมื่อ 14 September 2016.
  3. Rein Taagepera (September 1997). "Expansion and Contraction Patterns of Large Polities: Context for Russia". International Studies Quarterly. 41 (3): 500. doi:10.1111/0020-8833.00053. JSTOR 2600793.

ข้อมูล[แก้]

LaRocca, Donald J. Warriors of the Himalayas: Rediscovering the Arms and Armor of Tibet. (2006) Metropolitan Museum of Art. ISBN 0-300-11153-3

  • Beckwith, Christopher I. The Tibetan Empire in Central Asia: A History of the Struggle for Great Power among Tibetans, Turks, Arabs, and Chinese during the Early Middle Ages' (1987) Princeton University Press. ISBN 0-691-02469-3
  • Bushell, S. W. (1880), The Early History of Tibet. From Chinese Sources, Cambridge University Press
  • Lee, Don Y. The History of Early Relations between China and Tibet: From Chiu t'ang-shu, a documentary survey (1981) Eastern Press, Bloomington, Indiana. ISBN 0-939758-00-8
  • Pelliot, Paul. Histoire ancienne du Tibet (1961) Librairie d'Amérique et d'orient, Paris
  • Powers, John. History as Propaganda: Tibetan Exiles versus the People's Republic of China (2004) Oxford University Press. ISBN 978-0-19-517426-7
  • Schaik, Sam van. Galambos, Imre. Manuscripts and Travellers: The Sino-Tibetan Documents of a Tenth-Century Buddhist Pilgrim (2011) Walter de Gruyter ISBN 978-3-11-022565-5
  • Stein, Rolf Alfred. Tibetan Civilization (1972) Stanford University Press. ISBN 0-8047-0901-7
  • Walter, Michael L. (2009), Buddhism and Empire The Political and Religious Culture of Early Tibet, Brill
  • Yamaguchi, Zuiho. (1996). “The Fiction of King Dar-ma’s persecution of Buddhism” De Dunhuang au Japon: Etudes chinoises et bouddhiques offertes à Michel Soymié. Genève : Librarie Droz S.A.
  • Nie, Hongyin. 西夏文献中的吐蕃[ลิงก์เสีย]

อ่านเพิ่ม[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]