คณะผู้แทนทางทูตของประเทศไทย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางทูตไทย

สถานทูตและสถานกงสุลไทยในต่างแดน

ยุโรป[แก้]

สถานเอกอัครราชทูตไทยในกรุงลอนดอน
สถานเอกอัครราชทูตไทยในกรุงปารีส
สถานเอกอัครราชทูตไทยในกรุงเบอร์ลิน

อเมริกาเหนือ[แก้]

สถานเอกอัครราชทูตไทยในกรุงวอชิงตัน ดี.ซี.
สถานเอกอัครราชทูตไทยในกรุงเม็กซิโกซิตี

อเมริกาใต้[แก้]

ตะวันออกกลาง[แก้]

สถานกงสุลใหญ่ไทยในดูไบ

แอฟริกา[แก้]

สถานเอกอัครราชทูตไทยในกรุงพริทอเรีย

เอเชีย[แก้]

สถานเอกอัครราชทูตไทยในกรุงโตเกียว
สถานเอกอัครราชทูตไทยในกรุงโซล
สถานเอกอัครราชทูตไทยในกรุงสิงคโปร์
สถานเอกอัครราชทูตไทยในกรุงเวียงจันทน์

โอเชียเนีย[แก้]

สถานเอกอัครราชทูตไทยในกรุงเวลลิงตัน

องค์การพหุภาคี[แก้]

สถานทูตและคณะทูตที่ไม่มีถิ่นที่อยู่[แก้]

ธง[แก้]

ภาพธง ระยะเวลาที่ใช้ธง ชื่อธง คำอธิบาย
ตั้งแต่ พ.ศ. 2470 ธงราชทูต คล้ายธงไตรรงค์ แต่ตรงกลางมีวงกลมสีขาบขนาดกว้าง 4 ส่วนของธง (วงกลมจดสีเหลี่ยมสีแดงพอดี) ตรงกลางมีรูปช้างเผือกทรงเครื่องยืนแท่นหันหน้าเข้าหาเสา
ตั้งแต่ พ.ศ. 2470 ธงกงสุล คล้ายธงราชทูต แต่ช้างเผือกตรงกลางไม่ทรงเครื่องต้น

เชิงอรรถและอ้างอิง[แก้]

  1. รัฐบาลไทยมีนโยบายให้การรับรองจีนเดียวคือสาธารณรัฐประชาชนจีน จึงเรียกสำนักงานตัวแทนของทางราชการไทยที่ไต้หวันว่า สำนักงานการค้าและเศรษฐกิจไทย)

ดูเพิ่ม[แก้]