โกปาอาเมริกา 2021
คอนเมบอล โกปาอาเมริกา บราซิล 2021 | |
---|---|
รายละเอียดการแข่งขัน | |
ประเทศเจ้าภาพ | บราซิล |
วันที่ | 13 มิถุนายน – 10 กรกฎาคม[1] |
ทีม | 10 (จาก 1 สมาพันธ์) |
สถานที่ | 5 (ใน 4 เมืองเจ้าภาพ) |
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน | |
ชนะเลิศ | อาร์เจนตินา (สมัยที่ 15) |
รองชนะเลิศ | บราซิล |
อันดับที่ 3 | โคลอมเบีย |
อันดับที่ 4 | เปรู |
สถิติการแข่งขัน | |
จำนวนนัดที่แข่งขัน | 28 |
จำนวนประตู | 65 (2.32 ประตูต่อนัด) |
ผู้ชม | 7,800 (279 คนต่อนัด) |
ผู้ทำประตูสูงสุด | ลิโอเนล เมสซิ ลุยส์ ดิอัซ (คนละ 4 ประตู) |
ผู้เล่นยอดเยี่ยม | ลิโอเนล เมสซิ |
ผู้รักษาประตูยอดเยี่ยม | เอมิเลียโน มาร์ติเนซ |
รางวัลแฟร์เพลย์ | บราซิล |
โกปาอาเมริกา 2021 (โปรตุเกส: Copa América de 2021) เป็นการแข่งขันฟุตบอลโกปาอาเมริกา ครั้งที่ 47 ซึ่งเป็นการแข่งขันฟุตบอลชายระดับทีมชาติชิงแชมป์ทวีปอเมริกาใต้ จัดขึ้นโดยสมาพันธ์ฟุตบอลอเมริกาใต้ (คอนเมบอล) ในปีนี้จะจัดขึ้นที่ประเทศบราซิล ระหว่างวันที่ 13 มิถุนายน ถึง 10 กรกฎาคม ค.ศ. 2021 จากเดิมที่จะจัดขึ้นในประเทศโคลอมเบีย และอาร์เจนตินา เดิมทีการแข่งขันจะเริ่มต้นระหว่างวันที่ 12 มิถุนายน ถึง 12 กรกฎาคม ค.ศ. 2020 ภายใต้ชื่อ โกปาอาเมริกา 2020 แต่ภายหลังจากการระบาดทั่วของไวรัสโควิด-19 ในวันที่ 17 มีนาคม ค.ศ. 2020 คอนเมบอล จึงตัดสินใจเลื่อนการแข่งขันออกไปหนึ่งปี เช่นเดียวกับ ยูฟ่า ที่ได้เลื่อนการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2020 ออกไปเช่นกัน[2]
เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม ค.ศ. 2021 ประเทศโคลอมเบียถูกถอดออกจากการเป็นเจ้าภาพร่วม ท่ามกลางการประท้วงต่อประธานาธิบดี อิบัน ดูเก มาร์เกซ ที่กำลังดำเนินอยู่ ก่อนที่ในอีกสิบวันถัดมา อาร์เจนตินาก็ได้ถูกถอดออกเนื่องจากปัญหาการระบาดทั่วของโควิด-19 วันรุ่งขึ้น คอนเมบอลยืนยันว่าบราซิลเป็นเจ้าภาพการแข่งขัน
บราซิล ทีมเจ้าภาพ คือทีมแชมป์เก่าจากการแข่งขันครั้งล่าสุดในปี ค.ศ. 2019 ซึ่งเป็นสมัยที่ 9 ของพวกเขา, และบราซิลก็ได้ผ่านเข้ารอบชิงชนะเลิศอีกครั้งในปีนี้แต่ได้พ่ายแพ้ต่อ อาร์เจนตินา 1–0 จากการทำประตูของอังเฆล ดิ มาริอา ทำให้พวกเขาคว้าแชมป์โกปาอาเมริกาเป็นสมัยที่ 15 โดยสูงสุดเทียบเท่ากับอุรุกวัยและเป็นครั้งแรกในรอบ 28 ปี
ทีม
[แก้]ทีมชาติสมาชิกสิบทีมของคอนเมบอลจะเข้าร่วมการแข่งขัน โดยเริ่มต้นที่รอบแบ่งกลุ่มที่จะถูกแบ่งออกเป็นโซนเหนือและโซนใต้ตามภูมิศาสตร์[3]
ในเดือนมิถุนายน 2019 คอนเมบอลประกาศอย่างเป็นทางการว่า ออสเตรเลียและกาตาร์ตอบรับคำเชิญในการเข้าร่วมการแข่งขัน ซึ่งเป็นทีมชนะเลิศจากเอเชียนคัพสองครั้งที่แล้ว[4] โดยเป็นการลงเล่นครั้งแรกในโกปาอาเมริกาของทีมชาติออสเตรเลีย ในขณะที่กาตาร์เข้าร่วมการแข่งขันเป็นครั้งที่สองต่อจากปีที่แล้ว ก่อนที่ในวันที่ 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2021 สหพันธ์ฟุตบอลออสเตรเลียและสมาคมฟุตบอลกาตาร์ได้ประกาศถอนตัวจากการแข่งขัน เนื่องจากการแข่งขันฟุตบอลโลก 2022 รอบคัดเลือก รอบที่ 2 ในนัดที่เหลือ ได้ถูกเลื่อนมาแข่งขันในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2021 เช่นกัน[5][6] ทำให้โกปาอาเมริกาครั้งนี้เป็นครั้งแรกนับตั้งแต่ ค.ศ. 1991 ที่ไม่มีชาติรับเชิญร่วมแข่งขัน
|
|
|
สถานที่
[แก้]ในวันที่ 1 มิถุนายน ค.ศ. 2021 รัฐบาลบราซิลและสมาพันธ์ฟุตบอลบราซิลได้ประกาศว่าการแข่งขันจะเกิดขึ้นในเมืองบราซีเลีย, โกยาเนีย, กูยาบา และรีโอเดจาเนโร[7] ณ สนามกีฬามารากานัง, สนามกีฬาแห่งชาติมาแน การิงชา, อาเรนาปังตานัล และสนามกีฬาโอลิมปิกเปดรู ลูโดวีกู เมื่อวันที่ 2 มิถุนายน สมาพันธ์ฟุตบอลบราซิลได้ตัดสินใจใช้สนามกีฬาโอลิมปิกนิลตง ซังตุส ซึ่งเป็นสนามที่สองในรีโอเดจาเนโร[8] รัฐบาลจะจัดสรรทรัพยากรในงบประมาณของรัฐบาลกลางเพื่อให้การสนับสนุนที่จำเป็นสำหรับการขนส่งและความปลอดภัยของการแข่งขัน[9] โดยนัดแรกและพิธีเปิดจะเกิดขึ้น ณ สนามมาแน การิงชา ในวันอาทิตย์ที่ 13 มิถุนายน ค.ศ. 2021[8] และรอบชิงชนะเลิศจะเกิดขึ้นในวันที่ 10 กรกฎาคม ค.ศ. 2021 ณ สนามมารากานัง[10]
รีโอเดจาเนโร | |||||
---|---|---|---|---|---|
สนามกีฬามารากานัง | สนามกีฬาโอลิมปิกนิลตง ซังตุส | ||||
บราซีเลีย | กูยาบา | โกยาเนีย | |||
สนามกีฬาแห่งชาติมาแน การิงชา | อาเรนาปังตานัล | สนามกีฬาโอลิมปิกเปดรู ลูโดวีกู | |||
จับสลาก
[แก้]ถึงแม้ว่ารอบแบ่งกลุ่มจะได้รับการแบ่งออกเป็นโซนเหนือและโซนใต้ตามทำเลที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ตามประกาศของคอนเมบอลในวันที่ 9 เมษายน ค.ศ. 2019 อยู่แล้ว[11] แต่การจับสลากรอบแบ่งกลุ่มก็ยังคงเกิดขึ้นในวันที่ 3 ธันวาคม ค.ศ. 2019 ตามเวลาในประเทศโคลอมเบีย (UTC−5) ในการ์ตาเฮนา ประเทศโคลอมเบีย[12] เมื่อวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2564 บราซิลได้รับการจัดสรรให้อยู่ในตำแหน่ง B1 แทนที่ของโคลอมเบียหลังจากได้รับการเป็นเจ้าภาพ หลังจากแก้ไขปฏิทินการแข่งขัน[13]
โดยตำแหน่งของทีมภายในกลุ่มมีดังนี้:
ตำแหน่ง | ทีม |
---|---|
A1 | อาร์เจนตินา |
A2 | โบลิเวีย |
A3 | อุรุกวัย |
A4 | ชิลี |
A5 | ปารากวัย |
ตำแหน่ง | ทีม |
---|---|
B1 | บราซิล (เจ้าภาพ) |
B2 | โคลอมเบีย |
B3 | เวเนซุเอลา |
B4 | เอกวาดอร์ |
B5 | เปรู |
นัดที่ | วันที่ |
---|---|
นัดที่ 1 | 13–14 มิถุนายน ค.ศ. 2021 |
นัดที่ 2 | 17–18 มิถุนายน ค.ศ. 2021 |
นัดที่ 3 | 20–21 มิถุนายน ค.ศ. 2021 |
นัดที่ 4 | 23–24 มิถุนายน ค.ศ. 2021 |
นัดที่ 5 | 27–28 มิถุนายน ค.ศ. 2021 |
ผู้เล่น
[แก้]แต่ละทีมต้องส่งรายชื่อผู้เล่น 28 คน (ขยายจากเดิม 23 คน) โดยสามคนต้องเป็นผู้รักษาประตู[14]
ผู้ตัดสิน
[แก้]คอนเมบอลได้ประกาศรายชื่อผู้ตัดสินรวม 14 คน ผู้ช่วยผู้ตัดสิน 22 คน ผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ 16 คน และผู้สนับสนุนผู้ตัดสินอีก 10 คน เมื่อวันที่ 21 เมษายน ค.ศ. 2021[15][16]
รอบแบ่งกลุ่ม
[แก้]การจัดสรรทีมของชาติสมาชิกคอนเมบอล ประกาศเมื่อวันที่ 9 เมษายน 2019[17] โซนทั้งสองสำหรับออสเตรเลียและกาตาร์ซึ่งได้รับเชิญจะมีการจัดสรรภายหลัง ผ่านการจับฉลาก[4]
ทีมสี่อันดับแรกของแต่ละกลุ่มจะได้ผ่านเข้าสู่รอบก่อนรองชนะเลิศ
กลุ่มเอ (โซนใต้)
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | อาร์เจนตินา | 4 | 3 | 1 | 0 | 7 | 2 | +5 | 10 | ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก |
2 | อุรุกวัย | 4 | 2 | 1 | 1 | 4 | 2 | +2 | 7 | |
3 | ปารากวัย | 4 | 2 | 0 | 2 | 5 | 3 | +2 | 6 | |
4 | ชิลี | 4 | 1 | 2 | 1 | 3 | 4 | −1 | 5 | |
5 | โบลิเวีย | 4 | 0 | 0 | 4 | 2 | 10 | −8 | 0 |
ปารากวัย | 3–1 | โบลิเวีย |
---|---|---|
โรเมโร กามาร์รา 62' อา. โรเมโร 65', 80' |
รายงาน | ซาอาเบดรา 10' (ลูกโทษ) |
โบลิเวีย | 1–4 | อาร์เจนตินา |
---|---|---|
ซาอาเบดรา 60' | รายงาน | โกเมซ 6' เมสซิ 33' (ลูกโทษ), 42' ลา. มาร์ติเนซ 65' |
กลุ่มบี (โซนเหนือ)
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | บราซิล (H) | 4 | 3 | 1 | 0 | 10 | 2 | +8 | 10 | ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก |
2 | เปรู | 4 | 2 | 1 | 1 | 5 | 7 | −2 | 7 | |
3 | โคลอมเบีย | 4 | 1 | 1 | 2 | 3 | 4 | −1 | 4 | |
4 | เอกวาดอร์ | 4 | 0 | 3 | 1 | 5 | 6 | −1 | 3 | |
5 | เวเนซุเอลา | 4 | 0 | 2 | 2 | 2 | 6 | −4 | 2 |
(H) เจ้าภาพ.
บราซิล | 3–0 | เวเนซุเอลา |
---|---|---|
มาร์กิญญุส 23' เนย์มาร์ 64' (ลูกโทษ) บาร์บอซา 89' |
รายงาน |
บราซิล | 4–0 | เปรู |
---|---|---|
อาแลกส์ ซังดรู 12' เนย์มาร์ 68' แอแวร์ตง รีเบย์รู 89' รีชาร์ลีซง 90+3' |
รายงาน |
เวเนซุเอลา | 2–2 | เอกวาดอร์ |
---|---|---|
กัสติโย 51' เอร์นันเดซ 90+1' |
รายงาน | ไอ. เปรเซียโด 39' ปลาตา 71' |
บราซิล | 2–1 | โคลอมเบีย |
---|---|---|
ฟีร์มีนู 78' กาเซมีรู 90+10' |
รายงาน | ดิอัซ 10' |
เวเนซุเอลา | 0–1 | เปรู |
---|---|---|
รายงาน | การ์ริโย 48' |
รอบแพ้คัดออก
[แก้]สายแข่งขัน
[แก้]รอบก่อนรองชนะเลิศ | รอบรองชนะเลิศ | รอบชิงชนะเลิศ | ||||||||
3 กรกฎาคม – บราซีเลีย | ||||||||||
อาร์เจนตินา | 3 | |||||||||
6 กรกฎาคม – บราซีเลีย | ||||||||||
เอกวาดอร์ | 0 | |||||||||
อาร์เจนตินา (ลูกโทษ) | 1 (3) | |||||||||
3 กรกฎาคม – โกยาเนีย | ||||||||||
โคลอมเบีย | 1 (2) | |||||||||
อุรุกวัย | 0 (2) | |||||||||
10 กรกฎาคม – รีโอเดจาเนโร (มารากานัง) | ||||||||||
โคลอมเบีย (ลูกโทษ) | 0 (4) | |||||||||
อาร์เจนตินา | 1 | |||||||||
2 กรกฎาคม – รีโอเดจาเนโร (นิลตง ซังตุส) | ||||||||||
บราซิล | 0 | |||||||||
บราซิล | 1 | |||||||||
5 กรกฎาคม – รีโอเดจาเนโร (นิลตง ซังตุส) | ||||||||||
ชิลี | 0 | |||||||||
บราซิล | 1 | |||||||||
2 กรกฎาคม – โกยาเนีย | ||||||||||
เปรู | 0 | รอบชิงอันดับที่สาม | ||||||||
เปรู (ลูกโทษ) | 3 (4) | |||||||||
9 กรกฎาคม – บราซีเลีย | ||||||||||
ปารากวัย | 3 (3) | |||||||||
โคลอมเบีย | 3 | |||||||||
เปรู | 2 | |||||||||
รอบก่อนรองชนะเลิศ
[แก้]เปรู | 3–3 | ปารากวัย |
---|---|---|
โกเมซ 21' (เข้าประตูตัวเอง) ลาปาดูลา 40' โยตุน 80' |
รายงาน | โกเมซ 11' อาลอนโซ 54' อาบาโลส 90' |
ลูกโทษ | ||
ลาปาดูลา โยตุน ออร์เมญโญ ตาเปีย กูเอบา เตราโก |
4–3 | อา. โรเมโร อาลอนโซ มาร์ติเนซ ซามูดิโอ ปิริส ดา โมตา เอสปิโนลา |
บราซิล | 1–0 | ชิลี |
---|---|---|
ปาแกตา 46' | รายงาน |
อาร์เจนตินา | 3–0 | เอกวาดอร์ |
---|---|---|
เด โปล 40' ลา. มาร์ติเนซ 84' เมสซิ 90+3' |
รายงาน |
รอบรองชนะเลิศ
[แก้]อาร์เจนตินา | 1–1 | โคลอมเบีย |
---|---|---|
ลา. มาร์ติเนซ 7' | รายงาน | ดิอัซ 61' |
ลูกโทษ | ||
เมสซิ เด โปล ปาเรเดส ลา. มาร์ติเนซ |
3–2 | กัวดราโด ซันเชซ มินา บอร์ฮา การ์โดนา |
รอบชิงอันดับที่สาม
[แก้]รอบชิงชนะเลิศ
[แก้]สถิติ
[แก้]ผู้ทำประตู
[แก้]มีการทำประตู 65 ประตู จากการแข่งขัน 28 นัด เฉลี่ย 2.32 ประตูต่อนัด
การทำประตู 4 ครั้ง
การทำประตู 3 ครั้ง
การทำประตู 2 ครั้ง
การทำประตู 1 ครั้ง
- โรดริโก เด โปล
- อังเฆล ดิ มาริอา
- กิโด โรดริเกซ
- กาบรีแยล บาร์บอซา
- กาเซมีรู
- โรแบร์ตู ฟีร์มีนู
- มาร์กิญญุส
- แอแดร์ มีลีเตา
- แอแวร์ตง รีเบย์รู
- รีชาร์ลีซง
- อาแลกส์ ซังดรู
- เบน เบรเรตัน
- มิเกล บอร์ฮา
- เอดวิน การ์โดนา
- ฮวน กัวดราโด
- อังเฆล เมนา
- กอนซาโล ปลาตา
- มิเกล อัลมิรอน
- ยูนิออร์ อาลอนโซ
- กาบริเอล อาบาโลส
- กุสตาโบ โกเมซ
- อาเลฆันโดร โรเมโร กามาร์รา
- บรายัน ซามูดิโอ
- เซร์ฆิโอ เปญญา
- ลุยส์ ซัวเรซ
- เอดซอน กัสติโย
- โรนัลด์ เอร์นันเดซ
การทำเข้าประตูตัวเอง 1 ครั้ง
- ไฆโร กินเตโรส (ในนัดที่พบกับ อุรุกวัย)
- เยร์ริ มินา (ในนัดที่พบกับ เปรู)
- กุสตาโบ โกเมซ (ในนัดที่พบกับ เปรู)
- เรนาโต ตาเปีย (ในนัดที่พบกับ เอกวาดอร์)
ตารางการจัดอันดับหลังจบการแข่งขัน
[แก้]ตามแบบแผนทางสถิติในฟุตบอล, การแข่งขันที่ตัดสินในช่วงต่อเวลาจะถูกนับเป็นชัยชนะและการแพ้ด้วยการดวลลูกโทษจะนับเป็นเสมอ
อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | ผลงานในรอบสุดท้าย |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | อาร์เจนตินา | 7 | 5 | 2 | 0 | 12 | 3 | +9 | 17 | ชนะเลิศ |
2 | บราซิล | 7 | 5 | 1 | 1 | 12 | 3 | +9 | 16 | รองชนะเลิศ |
3 | โคลอมเบีย | 7 | 2 | 3 | 2 | 7 | 7 | 0 | 9 | อันดับที่สาม |
4 | เปรู | 7 | 2 | 2 | 3 | 10 | 14 | −4 | 8 | อันดับที่สี่ |
5 | อุรุกวัย | 5 | 2 | 2 | 1 | 4 | 2 | +2 | 8 | ตกรอบใน รอบก่อนรองชนะเลิศ |
6 | ปารากวัย | 5 | 2 | 1 | 2 | 8 | 6 | +2 | 7 | |
7 | ชิลี | 5 | 1 | 2 | 2 | 3 | 5 | −2 | 5 | |
8 | เอกวาดอร์ | 5 | 0 | 3 | 2 | 5 | 9 | −4 | 3 | |
9 | เวเนซุเอลา | 4 | 0 | 2 | 2 | 2 | 6 | −4 | 2 | ตกรอบใน รอบแบ่งกลุ่ม |
10 | โบลิเวีย | 4 | 0 | 0 | 4 | 2 | 10 | −8 | 0 |
รางวัล
[แก้]- รางวัลผู้เล่นทรงคุณค่า: ลิโอเนล เมสซิ
- รางวัลดาวซัลโวสูงสุด: ลิโอเนล เมสซิ (4 ประตู)
- รางวัลผู้รักษาประตูยอดเยี่ยม: เอมิเลียโน มาร์ติเนซ
- รางวัลทีมแฟร์เพลย์: บราซิล
ทีมยอดเยี่ยมประจำทัวร์นาเมนต์
[แก้]ผู้รักษาประตู | กองหลัง | กองกลาง | กองหน้า |
---|---|---|---|
เมาริซิโอ อิสลา |
สิทธิการออกอากาศ
[แก้]คอนเมบอล
[แก้]ประเทศ | สถานีการออกอากาศ | อ้างอิง |
---|---|---|
อาร์เจนตินา | [18][19] | |
โบลิเวีย |
|
[20][21] |
บราซิล | [22][23] | |
ชิลี | [24][25][19] | |
โคลอมเบีย | [26][27][19][28] | |
เอกวาดอร์ | [29][19] | |
ปารากวัย |
|
[30][19] |
เปรู | [31][19] | |
อุรุกวัย |
|
[32][19] |
เวเนซุเอลา |
|
[30] |
ทั่วโลก
[แก้]ประเทศ | สถานีการออกอากาศ | อ้างอิง |
---|---|---|
แอลเบเนีย | DigitAlb | [30] |
ออสเตรเลีย | Optus Sport | [33] |
บอลข่าน | Arena Sport | [30] |
แคนาดา | [34][35][36] | |
แคริบเบียน |
|
[30] |
อเมริกากลาง | Tigo Sports | [30] |
จีน | [37][38][39] | |
คิวบา | Tele Rebelde | [40] |
คอสตาริกา | [30] | |
ไซปรัส | PrimeTel | [41] |
เช็กเกีย | Digi Sport | [30] |
สาธารณรัฐโดมินิกัน | CDN 37 | [30] |
ฝรั่งเศส | L'Équipe | [42] |
จอร์เจีย | Adjarasport | [30] |
เยอรมนี | [43] | |
กรีซ | Open TV | [44] |
เฮติ | TNH | [30] |
ฮอนดูรัส |
|
[30] |
ฮ่องกง | i-Cable | [45] |
ฮังการี | ARENA4 | [30] |
อินโดนีเซีย | [46] | |
อิตาลี | [47][48] | |
อนุทวีปอินเดีย | Sony Pictures Networks | [49] |
อิสราเอล | Charlton | [30] |
ญี่ปุ่น | AbemaTV | [50] |
คาซัคสถาน | Qazsport | [30] |
มัลดีฟส์ |
|
[30] |
MENA | beIN Sports | [51] |
เม็กซิโก |
|
[52][53] |
เนปาล | DishHome | [54] |
เนเธอร์แลนด์ | Ziggo Sport | [30] |
นิวซีแลนด์ | Spark | [55] |
กลุ่มนอร์ดิก | NENT | [56] |
ปานามา | [30] | |
โปแลนด์ | TVP | [57] |
โปรตุเกส | Sport TV | [30] |
รัสเซีย |
|
[58][30] |
สิงคโปร์ | StarHub | [30] |
สโลวาเกีย | Digi Sport | [30] |
เกาหลีใต้ | SPOTV | [59] |
สเปน | [60][61][62] | |
ศรีลังกา | Dialog TV | [30] |
แอฟริกาใต้สะฮารา | Canal+ | [63] |
ซูรินาเม | SCCN | [30] |
ทาจิกิสถาน | TV Varzish | [30] |
ไทย | พีพีทีวี | [64] |
ตุรกี | Haber Global | [30] |
ยูเครน | MEGOGO | [30] |
สหราชอาณาจักร | BBC | [65] |
สหรัฐ | [66][67] | |
เวียดนาม | Next Media | [68] |
หมายเหตุ
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ "FIFA Council makes key decisions for the future of football development". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 26 October 2018. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-11-15. สืบค้นเมื่อ 26 October 2018.
- ↑ "Comunicado Oficial". CONMEBOL.com. 17 March 2020.
- ↑ "La Copa América 2020 en dos zonas de Sudamérica para acercar los partidos de selecciones a sus aficionados". www.conmebol.com. สืบค้นเมื่อ 2019-04-19.
- ↑ 4.0 4.1 "Australia y Qatar, invitadas a la CONMEBOL Copa América 2020" [Australia and Qatar invited to the CONMEBOL Copa América 2020] (ภาษาสเปน). São Paulo: CONMEBOL. 13 June 2019. สืบค้นเมื่อ 13 June 2019.
- ↑ "Football Australia confirms Socceroos' withdrawal from Copa America". Football Australia. 23 February 2021. สืบค้นเมื่อ 23 February 2021.
- ↑ "Qatar not to feature in Copa America 2021". Qatar Football Association. 23 February 2021. สืบค้นเมื่อ 23 February 2021.
- ↑ "MT, RJ, DF e GO sediarão Copa América, diz governo". CNN Brasil (ภาษาโปรตุเกส). 1 June 2021.
- ↑ 8.0 8.1 "CBF desiste de quinta cidade-sede e pretende utilizar Engenhão". CNN Brasil (ภาษาโปรตุเกส). 2 June 2021.
- ↑ "CBF planeja cinco cidades-sede para Copa América no Brasil". CNN Brasil (ภาษาโปรตุเกส). 1 June 2021.
- ↑ "Governo Federal quer jogos da Copa América no Maracanã, Brasília e Manaus". SporTV (ภาษาโปรตุเกส). 31 May 2021.
- ↑ "La Copa América 2020 se disputará en dos zonas de Sudamérica para acercar los partidos de selecciones a sus aficionados". www.conmebol.com. 9 April 2019. สืบค้นเมื่อ 9 April 2019.
- ↑ "La CONMEBOL Copa América 2020 se proyecta con reunión de coordinación" (ภาษาสเปน). CONMEBOL.com. 15 October 2019.
- ↑ de-la-conmebol-copa-america-2021 "El fixture de La CONMEBOL Copa América 2021". CONMEBOL.com (ภาษาสเปน). 2 มิถุนายน 2021.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่า|url=
(help)[ลิงก์เสีย] - ↑ "REGLAMENTO CONMEBOL COPA AMÉRICA 2021" (PDF) (ภาษาสเปน). CONMEBOL. 12 May 2021. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2021-05-14. สืบค้นเมื่อ 2021-06-07.
- ↑ "Árbitros convocados para la CONMEBOL Copa América 2021" (ภาษาสเปน). CONMEBOL.com. 21 April 2021.
- ↑ "CONMEBOL COPA AMÉRICA 2021 ÁRBITROS CONVOCADOS" (PDF) (ภาษาสเปน). CONMEBOL.com. 21 April 2021.
- ↑ "La Copa América 2020 se disputará en dos zonas de Sudamérica para acercar los partidos de selecciones a sus aficionados". www.conmebol.com. 9 April 2019. สืบค้นเมื่อ 9 April 2019.
- ↑ Cook, Alexis (3 June 2021). "¿Qué canales transmiten la Copa América 2021 en Argentina?". BOLAVIP (ภาษาสเปน). สืบค้นเมื่อ 6 June 2021.
- ↑ 19.0 19.1 19.2 19.3 19.4 19.5 19.6 "DIRECTV TRANSMITIRÁ TODOS LOS PARTIDOS DE LA COPA AMÉRICA Y LA UEFA EURO". Plataformas (ภาษาสเปน). 5 May 2021. สืบค้นเมื่อ 6 June 2021.[ลิงก์เสีย]
- ↑ "Tigo Sports tendrá cobertura especial con multirelato para la Copa América". Tigo (ภาษาสเปน). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-11-20. สืบค้นเมื่อ 7 June 2021.
- ↑ "La Copa América se verá en la señal HD de Unitel y en digital en Unitel.bo". Unitel (ภาษาสเปน). 4 June 2021. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-06-16. สืบค้นเมื่อ 7 June 2021.
- ↑ "Disney fecha acordo com a Conmebol e vai transmitir Copa América na TV paga". uol (ภาษาโปรตุเกส). 1 June 2021. สืบค้นเมื่อ 6 June 2021.
- ↑ "SBT transmite Copa América 2021 com exclusividade". SBT (ภาษาโปรตุเกส). 18 May 2021. สืบค้นเมื่อ 6 June 2021.
- ↑ "Cómo ver a la Selección Chilena en Copa América On Line" (ภาษาสเปน). 13.cl. 4 June 2021. สืบค้นเมื่อ 6 June 2021.
- ↑ "La Copa América y la Eurocopa estarán en TNT Sports". TNT Sports (ภาษาสเปน). 25 April 2021. สืบค้นเมื่อ 6 June 2021.
- ↑ "¡No le va a gustar a muchos! Caracol Televisión reveló cómo será la transmisión de la Copa América". Publimetro (ภาษาสเปน). 15 December 2020. สืบค้นเมื่อ 6 June 2021.
- ↑ "En Colombia, ¿qué canales transmiten la Copa América 2021 y sus partidos por TV?". Goal.com (ภาษาสเปน). 12 June 2021. สืบค้นเมื่อ 13 June 2021.
- ↑ "Win Sports+ transmitirá la Eurocopa y la Copa América 2020" (ภาษาสเปน). Colombia.com. 14 March 2020. สืบค้นเมื่อ 6 June 2021.
- ↑ Balseca, Ingrid (2 June 2021). "TC tiene los derechos de transmisión de la Copa América y su equipo deportivo viajará a Brasil". expreso (ภาษาสเปน). สืบค้นเมื่อ 6 June 2021.
- ↑ 30.00 30.01 30.02 30.03 30.04 30.05 30.06 30.07 30.08 30.09 30.10 30.11 30.12 30.13 30.14 30.15 30.16 30.17 30.18 30.19 30.20 30.21 30.22 30.23 30.24 30.25 30.26 "Broadcasters". Copa America 2021 (ภาษาโปรตุเกส). copaamerica.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-07-02. สืบค้นเมื่อ 19 June 2021.
- ↑ "Copa América 2020: conoce el canal oficial que transmitirá los partidos en Perú". La República (ภาษาสเปน). 27 December 2019. สืบค้นเมื่อ 6 June 2021.
- ↑ Bocchio, Ignacio (3 June 2021). "¿Quién transmite la Copa América 2021 en Uruguay?". BOLAVIP (ภาษาสเปน). สืบค้นเมื่อ 6 June 2021.
- ↑ "Optus Sport secures long term rights to Copa America 2021 and 2024 tournaments". Optus Sport. 30 March 2021. สืบค้นเมื่อ 5 June 2021.
- ↑ "RDS présente la Copa America du 13 juin au 10 juillet". Bell Media (ภาษาฝรั่งเศส). 7 June 2021. สืบค้นเมื่อ 9 June 2021.
- ↑ "TSN Delivers Complete Coverage of COPA AMERICA, Beginning June 13". Bell Media. 7 June 2021. สืบค้นเมื่อ 9 June 2021.
- ↑ "Listos para disfrutar de Copa América por Univision Canada" (ภาษาสเปน). Univision. สืบค้นเมื่อ 5 June 2021.
- ↑ "开场哨-南美无弱旅 2021美洲杯来啦!". CCTV (ภาษาจีน). 13 June 2021. สืบค้นเมื่อ 15 June 2021.
- ↑ McCullagh, Kevin (4 June 2021). "China Sports Media distributes Copa América rights to streaming trio". SportBusiness. สืบค้นเมื่อ 5 June 2021.
- ↑ "美洲杯在哪看?PP体育拿下新媒体版权". 腾讯网 (ภาษาจีน). qq.com. 3 June 2021. สืบค้นเมื่อ 5 June 2021.
- ↑ Emilio, Leytel (10 June 2021). "Tele Rebelde transmitira en vivo todos los partidos de la Copa America". Tele Rebelde (ภาษาสเปน). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-06-11. สืบค้นเมื่อ 11 June 2021.
- ↑ "PrimeTel to broadcast Copa America". CyprusMail. 10 June 2021. สืบค้นเมื่อ 19 June 2021.
- ↑ "La Copa America diffusée sur L'Équipe". L'Équipe (ภาษาฝรั่งเศส). 8 June 2021. สืบค้นเมื่อ 9 June 2021.
- ↑ Beyer, André (17 June 2021). "Sportdigital legt mit weiteren TV-Rechten nach: Copa America live". Digitalfernsehen (ภาษาเยอรมัน). สืบค้นเมื่อ 19 June 2021.
- ↑ "Copa America". Open Beyond. tvopen.gr. สืบค้นเมื่อ 10 June 2021.
- ↑ "Cable TV secures Conmebol Copa America 2021 broadcast rights in Hong Kong". telecompaper. 11 June 2021. สืบค้นเมื่อ 11 June 2021.
- ↑ "Asyik, Sekarang Copa America 2021 Eksklusif di Indosiar dan Vidio lho". bola.com (ภาษาอินโดนีเซีย). 11 June 2021. สืบค้นเมื่อ 11 June 2021.
- ↑ "Copa America 2021 su Sky Sport ed Eleven Sports". Simone Salvador (ภาษาอิตาลี). 11 June 2021. สืบค้นเมื่อ 12 June 2021.
- ↑ "Dall'Europa al Sud America: oltre agli Europei, su Sky arriva anche la Copa America 2021". Sky Sport (ภาษาอิตาลี). 11 June 2021. สืบค้นเมื่อ 12 June 2021.
- ↑ King, Tom (21 April 2021). "Copa America deal expands Sony Pictures Networks India's soccer portfolio". SportsPro. สืบค้นเมื่อ 5 June 2021.
- ↑ "「ABEMA独占で『CONMEBOL コパ・アメリカ2021』を全試合独占生放送」". Abema (ภาษาญี่ปุ่น). 11 June 2021. สืบค้นเมื่อ 19 June 2021.
- ↑ "Summer Offer – EURO & COPA". beIN Sports. สืบค้นเมื่อ 5 June 2021.
- ↑ "Watch American Cup Games Live". Fanatiz. สืบค้นเมื่อ 19 June 2021.
- ↑ "EL TORNEO DE SELECCIONES MÁS IMPORTANTE DEL CONTINENTE AMERICANO". Sky (ภาษาสเปน). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-06-24. สืบค้นเมื่อ 19 June 2021.
- ↑ "Now you can watch Euro Cup & Copa America in Dishhome". Nepalonlinepatrika. 14 June 2021. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-06-14. สืบค้นเมื่อ 19 June 2021.
- ↑ "Spark Sport Bolsters Football Schedule With CONMEBOL Copa América 2021". Scoop Business. 6 May 2021. สืบค้นเมื่อ 19 June 2021.
- ↑ "NENT Group's Viaplay to show South American football in nine countries". Nordic Entertainment Group. 11 June 2021. สืบค้นเมื่อ 11 June 2021.
- ↑ "Copa America 2021 w TVP Sport! Transmisje wszystkich meczów w TVPSPORT.PL [terminarz]". TVP Sport (ภาษาโปแลนด์). 21 May 2021. สืบค้นเมื่อ 13 June 2021.
- ↑ "CONMEBOL Copa América". okko.tv (ภาษารัสเซีย). สืบค้นเมื่อ 2021-06-19.[ลิงก์เสีย]
- ↑ "코파 아메리카 14일 시작...브라질 vs 베네수엘라 개막전, SPOTV 생중계". Single List (ภาษาเกาหลี). 11 June 2021. สืบค้นเมื่อ 13 June 2021.
- ↑ "Ibai Llanos and Kosmos team up to broadcast the Copa América on Twitch". Kosmos. 18 June 2021. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-06-21. สืบค้นเมื่อ 21 June 2021.
- ↑ "A Copa América 2021 xógase desde hoxe na Galega". CRTVG (ภาษาสเปน). 13 June 2021. สืบค้นเมื่อ 13 June 2021.
- ↑ Guillén, Daniel (17 June 2021). "La Copa América se podrá seguir en Catalunya a través de TV3". Sport (ภาษาสเปน). สืบค้นเมื่อ 20 June 2021.
- ↑ "100% de l'UEFA Euro 2020 et de la Copa America 2021 en direct et en HD sur les Chaînes Canal+ Sport en Afrique subsaharienne". Agency Ecofin (ภาษาฝรั่งเศส). 4 June 2021. สืบค้นเมื่อ 19 June 2021.
- ↑ ""พีพีทีวี" คว้าสิทธิ์ "โคปา อเมริกา 2021" ประเดิม 14 มิ.ย.นี้". PPTV HD 36. 8 June 2021. สืบค้นเมื่อ 11 June 2021.
- ↑ "Copa America: Every game of this summer's tournament live on the BBC". BBC. 2 June 2021. สืบค้นเมื่อ 5 June 2021.
- ↑ "FOX Sports Becomes the Home of South American National Team Soccer with Long-Term Conmebol Deal". Fox Sports. 4 May 2021. สืบค้นเมื่อ 5 June 2021.
- ↑ "CONMEBOL Copa América Returns to Univision's TUDN". Univision Communications. 22 March 2021. สืบค้นเมื่อ 5 June 2021.
- ↑ "Next Media sở hữu bản quyền Copa America 2021 và EURO 2020". Vietnamnet (ภาษาเวียดนาม). 11 June 2021. สืบค้นเมื่อ 11 June 2021.