ข้ามไปเนื้อหา

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2012

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
AFF Suzuki Cup 2012
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพมาเลเซีย
ไทย
วันที่24 พฤศจิกายน – 22 ธันวาคม
ทีม8
สถานที่(ใน 3 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศธงชาติสิงคโปร์ สิงคโปร์ (สมัยที่ 4)
รองชนะเลิศธงชาติไทย ไทย
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน18
จำนวนประตู48 (2.67 ประตูต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดไทย ธีรศิลป์ แดงดา (5 ประตู)
ผู้เล่นยอดเยี่ยมสิงคโปร์ ชาห์ริล อิชัค
2010
2014

การแข่งขันฟุตบอล เอเอฟเอฟคัพ 2012 หรือในชื่อ เอเอฟเอฟ ซูซูกิ คัพ 2012 ตามชื่อของผู้สนับสนุน ซึ่งในปีนี้เป็นการแข่งขันครั้งที่ 9 ของ สหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน ซึ่งเป็นสหพันธ์ฟุตบอลของ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยในปีนี้จะจัดการแข่งขันที่ มาเลเซีย และ ไทย จะแข่งขันกันระหว่างวันที่ 24 พฤศจิกายน ถึง 22 ธันวาคม พ.ศ. 2555[1]

การคัดเลือกเจ้าภาพ

[แก้]

ในวันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2553 สมาคมฟุตบอลฟิลิปปินส์ ได้แถลงการณ์เกี่ยวกับการแข่งขันครั้งนี้[2][3]อย่างไรก็ตาม ในการประชุมของ สภาฟุตบอลเอเอฟเอฟ ในวันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 มาเลเซีย และ ไทย ได้เสนอตัวเป็นเจ้าภาพร่วมกัน[4][5]

สนามที่ใช้ในการแข่งขัน

[แก้]

โดยสนามที่ใช้ในการแข่งขันมี 4 สนามด้วยกัน ประกอบไปด้วย สนามกีฬาแห่งชาติบูกิต จาลิล ใน กัวลาลัมเปอร์ , ชะฮ์อาลัม สเตเดียม ใน ชะฮ์อาลัม , ราชมังคลากีฬาสถาน และ สนามศุภชลาศัย ใน กรุงเทพมหานคร[6]เมื่อไทย ได้เข้ารอบรองชนะเลิศและรอบชิงชนะเลิศ จะใช้สนามศุภชลาศัยแทน ราชมังคลากีฬาสถาน ที่จะใช้ในการแข่งขันเรซออฟแชมเปียนส์ 2012[7] ส่วนฟิลิปปินส์และสิงคโปร์ เมื่อได้เข้ารอบ ฟิลิปปินส์จะใช้ ริซาล เมโมเรียล สเตเดียม ในกรุงมะนิลา ส่วนสิงคโปร์จะใช้ จาลันเบอซาร์ สเตเดียม ในจาลันเบอซาร์

กัวลาลัมเปอร์ ชะฮ์อาลัม กรุงเทพมหานคร
สนามกีฬาแห่งชาติบูกิตจาลีล สนามกีฬาชะฮ์อาลัม ราชมังคลากีฬาสถาน
ความจุ: 101,411 คน ความจุ: 80,932 คน ความจุ: 49,722 คน
สนามกีฬาแห่งชาติบูกิต จาลิล ชะฮ์อาลัม สเตเดียม ราชมังคลากีฬาสถาน
กรุงเทพมหานคร มะนิลา จาลันเบอซาร์
สนามศุภชลาศัย ริซาล เมโมเรียล สเตเดียม สนามกีฬาจาลันเบอซาร์
ความจุ: 19,793 คน ความจุ: 12,873 คน ความจุ: 8,000 คน
สนามศุภชลาศัย ริซาล เมโมเรียล สเตเดียม จาลันเบอซาร์ สเตเดียม

ทีมที่เข้ารอบ

[แก้]

การแข่งขันนั้นจะนำทีมที่มี อันดับฟีฟ่า ต่ำที่สุด 5 อันดับในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มาแข่งแบบพบกันหมดโดยคัดเอา 2 ทีมที่ผลงานดีที่สุดผ่านเข้าสู่รอบต่อไป โดยให้ประเทศเมียนม่าร์เป็นเจ้าภาพในรอบคัดเลือกครั้งนี้ ขณะที่บรูไนเพิ่งลงแข่งขันรายการนี้เป็นครั้งแรกหลังจากที่พ้นโทษแบนจากฟีฟ่า ส่วนทีมที่อันดับสูงสุด 6 ทีมแรกนั้นจะได้เข้าการแข่งขันในรอบแรกทันที

5 ทีมด้านล่างนี้ คือทีมที่ต้องลงเล่นรอบคัดเลือกก่อน

รอบคัดเลือก

[แก้]

เป็นการแข่งขันแบบพบกันหมด ที่ ตุวันนา สเตเดียม ในเมือง ย่างกุ้ง ประเทศเมียนมาร์

ทีม แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย +/- คะแนน
ธงชาติประเทศพม่า พม่า 4 3 1 0 6 1 +5 10
ธงชาติลาว ลาว 4 2 1 1 5 4 +1 7
ธงชาติติมอร์-เลสเต ติมอร์-เลสเต 4 2 0 2 10 6 +4 6
ธงชาติบรูไน บรูไน 4 2 0 2 6 7 -1 6
ธงชาติกัมพูชา กัมพูชา 4 0 0 4 3 12 -9 0

รอบสุดท้าย

[แก้]

การจับสลากแบ่งกลุ่ม

[แก้]
  ทีมที่ผ่านเข้ารอบ
  ทีมที่ไม่ผ่านเข้ารอบ

การจับสลากแบ่งกลุ่มการแข่งขันจัดขึ้นเมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 ที่โรงแรมโกลเดนทิวลิป ใน กรุงเทพมหานคร[8]โดย 8 ทีมที่จะได้เล่นในรอบสุดท้าย จะถูกจัดให้อยู่ใน 4 โถ โถละ 2 ทีม ตามอันดับของแต่ละทีม[9]

โถที่ 1 โถที่ 2 โถที่ 3 โถที่ 4

ธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย (เจ้าภาพ)
ธงชาติไทย ไทย (เจ้าภาพ)

ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม
ธงชาติอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย

ธงชาติสิงคโปร์ สิงคโปร์
ธงชาติฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์

ธงชาติประเทศพม่า พม่า
ธงชาติลาว ลาว

รอบแบ่งกลุ่ม

[แก้]

กลุ่ม เอ

[แก้]
  • ไทย เป็นเจ้าภาพของกลุ่มนี้
ทีม แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย +/- คะแนน
ธงชาติไทย ไทย (เจ้าภาพ) 3 3 0 0 9 2 +7 9
ธงชาติฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์ 3 2 0 1 4 2 +2 6
ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม 3 0 1 2 2 5 –3 1
ธงชาติประเทศพม่า พม่า 3 0 1 2 1 7 –6 1

กลุ่ม บี

[แก้]
ทีม แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย +/- คะแนน
ธงชาติสิงคโปร์ สิงคโปร์ 3 2 0 1 7 4 +3 6
ธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย (เจ้าภาพ) 3 2 0 1 6 4 +2 6
ธงชาติอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย 3 1 1 1 3 4 –1 4
ธงชาติลาว ลาว 3 0 1 2 6 10 –4 1

รอบแพ้คัดออก

[แก้]
  รอบรองชนะเลิศ รอบชิงชนะเลิศ
                         
A2  ธงชาติฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์ 0 0 0  
B1  ธงชาติสิงคโปร์ สิงคโปร์ 0 1 1  
    B1  ธงชาติสิงคโปร์ สิงคโปร์ 3 0 3
  A1  ธงชาติไทย ไทย 1 1 2
B2  ธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย 1 0 1
A1  ธงชาติไทย ไทย 1 2 3  

รอบรองชนะเลิศ

[แก้]
รวมผล 2 นัด สิงคโปร์ ชนะ 1 – 0
รวมผล 2 นัด ไทย ชนะ 3 – 1

รอบชิงชนะเลิศ

[แก้]
รวมผล 2 นัด สิงคโปร์ ชนะ 3 – 2

รางวัลพิเศษ

[แก้]
ชนะเลิศเอเอฟเอฟ ซูซูกิ คัพ 2012
สิงคโปร์
สิงคโปร์
ชนะเลิศครั้งที่ 4
ผู้เล่นทรงคุณค่า รองเท้าทองคำ แฟร์ เพลย์
สิงคโปร์ ชาห์ริล อิชัค ไทย ธีรศิลป์ แดงดา ธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย

อันดับดาวซัลโว

[แก้]
5 ประตู
4 ประตู
3 ประตู
2 ประตู
1 ประตู
ทำเข้าประตูตัวเอง


สถิติทีม

[แก้]

ตารางแสดงผลงานของทุกทีม

อันดับ ทีม แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย +/-
รอบชิงชนะเลิศ
1 ธงชาติสิงคโปร์ สิงคโปร์ 7 4 1 2 11 6 +5
2 ธงชาติไทย ไทย 7 5 1 1 14 6 +8
รอบรองชนะเลิศ
3 ธงชาติฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์ 5 2 1 2 4 3 +1
4 ธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย 5 2 1 2 7 7 0
ตกรอบแบ่งกลุ่ม
5 ธงชาติอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย 3 1 1 1 3 4 –1
6 ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม 3 0 1 2 2 5 –3
7 ธงชาติลาว ลาว 3 0 1 2 6 10 –4
8 ธงชาติประเทศพม่า พม่า 3 0 1 2 1 7 –6

การถ่ายทอดสด

[แก้]
เอเอฟเอฟ ซูซูกิ คัพ 2012 ใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้[10]
ประเทศ สถานีเครือข่าย สถานีโทรทัศน์
 กัมพูชา โมบีเทล ซีทีเอ็น
 อินโดนีเซีย มีเดีย นูซานทารา ซีตรา อาร์ซีทีไอ
 ลาว สถานีวิทยุและโทรทัศน์แห่งชาติลาว สถานีโทรทัศน์แห่งชาติลาว
 มาเลเซีย เรดีโอ เทเลวิสเยน มาเลเซีย ทีวีวัน, ทีวีทู
 พม่า วิทยุและโทรทัศน์แห่งเมียนมาร์ สถานีโทรทัศน์แห่งเมียนมาร์
 ฟิลิปปินส์ สปอร์ตไฟว์ เอเคทีวี
 ไทย กองทัพบก ช่อง 7
 เวียดนาม สถานีโทรทัศน์แห่งเวียดนาม วีทีวี
เอเชีย[10]
 ฮ่องกง อีเอสพีเอ็น และ นิวส์ คอร์ปอเรชัน อีเอสพีเอ็น, สตาร์สปอร์ต

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Myanmar to host qualifying rounds for 2012 AFF Suzki Cup". Yahoo News. Bernama. 2011-12-09. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-04-28. สืบค้นเมื่อ 2012-01-09.
  2. "RP Want to host the 2012 AFF Suzuki Cup". ABS-CBNnews.com. 2010-12-17. สืบค้นเมื่อ 2010-12-18.
  3. Manotoc, TJ (2010-12-18). "AFF says RP can host Suzuki Cup finals". ABS-CBNnews.com. สืบค้นเมื่อ 2010-12-18.
  4. "Malaysia and Thailand as hosts of AFF Suzuki Cup 2012; nominations for AFF Council announced". AseanFootball.org. ASEAN Football Federation. 2011-02-19. สืบค้นเมื่อ 2011-02-19.
  5. "Malaysia, Thailand confirmed as co-hosts for 2012 edition". AFFsuzukicup.com. 2011-02-21. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-03-08. สืบค้นเมื่อ 2011-08-27.
  6. AFF Suzuki Cup 2012 เก็บถาวร 2011-08-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Retrieved at 23rd March 2012
  7. "Asean Championship match switched to Muang Thong's SCG". The Nation. Nation Multimedia Group. 2012-10-17. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-10-18. สืบค้นเมื่อ 2012-11-10.
  8. "AFF Suzuki Cup: Draw results". AseanFootball.org. ASEAN Football Federation. 2012-07-11. สืบค้นเมื่อ 2012-07-11.
  9. "AFF Suzuki Cup: Millions of fans will follow draw ceremony". AseanFootballorg. ASEAN Football Federation. 2012-07-10. สืบค้นเมื่อ 2012-07-11.
  10. 10.0 10.1 "Broadcast Partners". Official Website of the 2012 AFF Suzuki Cup. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-06-28. สืบค้นเมื่อ 2012-11-22.