ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าชายโยะชิฮิโตะ เจ้าแห่งคะสึระ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 16: บรรทัด 16:
{{พระราชวงศ์ญี่ปุ่น}}
{{พระราชวงศ์ญี่ปุ่น}}


'''เจ้าชายโยะชิฮิโตะ เจ้าคะสึระ''' ({{ญี่ปุ่น|桂宮宜仁親王|คะสึระ-โน-มิยะ โยะชิฮิโตะ-ชินโน}};ประสูติ [[11 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2491]]) เป็นสมาชิกใน[[ราชวงศ์ญี่ปุ่น|พระราชวงศ์แห่งญี่ปุ่น]] พระองค์เป็นโอรสองค์ที่สองใน[[เจ้าชายทะกะฮิโตะ เจ้าชายมิกะซะ|เจ้าชายมิกะซะ]]กับ[[เจ้าหญิงยุริโกะ เจ้าหญิงมิกะซะ|เจ้าหญิงมิกะซะ]] พระองค์ทรงมีศักดิ์เป็นลูกพี่ลูกน้องของ[[สมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ]]
'''เจ้าชายโยะชิฮิโตะ เจ้าคะสึระ''' ({{ญี่ปุ่น|桂宮宜仁親王|คะสึระ-โน-มิยะ โยะชิฮิโตะ-ชินโน}};ประสูติ [[11 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2491]]) เป็นสมาชิกใน[[ราชวงศ์ญี่ปุ่น|พระราชวงศ์แห่งญี่ปุ่น]] พระองค์เป็นโอรสองค์ที่สองใน[[เจ้าชายทะกะฮิโตะ เจ้าชายมิกะซะ|เจ้ามิกะซะ]]กับ[[เจ้าหญิงยุริโกะ พระวรชายามิกะซะ|เจ้าหญิงพระวรชายามิกะซะ]] พระองค์ทรงมีศักดิ์เป็นลูกพี่ลูกน้องของ[[สมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ]]


==พระราชประวัติ==
==พระราชประวัติ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:00, 26 มีนาคม 2557

เจ้าชายโยะชิฮิโตะ
เจ้าคะสึระ

โยะชิฮิโตะ
ไฟล์:Prince Katsura.jpg
เจ้าคะสึระ
ประสูติ11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491 (76 ปี)
กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น
พระบิดาเจ้าชายทะกะฮิโตะ เจ้ามิกะซะ
พระมารดาเจ้าหญิงยุริโกะ พระวรชายามิกะซะ

เจ้าชายโยะชิฮิโตะ เจ้าคะสึระ (ญี่ปุ่น: 桂宮宜仁親王โรมาจิคะสึระ-โน-มิยะ โยะชิฮิโตะ-ชินโน;ประสูติ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491) เป็นสมาชิกในพระราชวงศ์แห่งญี่ปุ่น พระองค์เป็นโอรสองค์ที่สองในเจ้ามิกะซะกับเจ้าหญิงพระวรชายามิกะซะ พระองค์ทรงมีศักดิ์เป็นลูกพี่ลูกน้องของสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ

พระราชประวัติ

เจ้าชายจบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยกาคุชุอินในปี 1971 จากนั้น ตั้งแต่ปี 1971 - 1973 พระองค์ก็ทรงศึกษาที่มหาวิทยาลัยแห่งชาติออสเตรเลีย ที่กรุงแคนเบอร์รา เมื่อกลับจากออสเตรเลียพระองค์ก็ทรงทำงานที่บริษัทการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งญี่ปุ่น

พระนาม

  • 11 กุมภาพันธ์ 1948 - 1 มกราคม 1988 : เจ้าชายโยะชิฮิโตะแห่งมิซากะ
  • 1 มกราคม 1988 - ปัจจุบัน : เจ้าคะสึระ

เกียรตินิยมต่างประเทศ

ตำแหน่งกิตติมศักดิ์

  • ประธานสังคมไอเอ็นซี ญึ่ปุ่น ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์
  • ประธานสมาคมเกษตรแห่งประเทศญี่ปุ่น
  • ประธานสมาคมป่าไม้ญี่ปุ่น
  • ประธานสมาคมศิลปะหัตถกรรมญี่ปุ่น

พงศาวลี

 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
16. จักรพรรดิโคเม
 
 
 
 
 
 
 
8. จักรพรรดิเมจิ
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
17. โยะชิโกะ นะกะยะมะ
 
 
 
 
 
 
 
4. จักรพรรดิไทโช
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
18. มิตซุนารุ ยานาจิวาระ
 
 
 
 
 
 
 
9. ยานาจิวาระ นารุโกะ
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
19. อุทาโนะ ฮาเซกาวา
 
 
 
 
 
 
 
2. เจ้าชายทะกะฮิโตะ เจ้ามิกะซะ
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
20. คูโจ ฮิซาทาดะ
 
 
 
 
 
 
 
10. คุโจ มิชิตะกะ
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
21. ซูเนโกะ คาราฮาชิ
 
 
 
 
 
 
 
5. จักรพรรดินีเทเม
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
22. โยริโอกิ โนมา
 
 
 
 
 
 
 
11. โนมะ อิกูโกะ
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1. เจ้าชายโยะชิฮิโตะ เจ้าคะสึระ
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
6. มะซะโนะริ ทะกะงิ
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
3. ยุริโกะ ทะกะงิ, พระวรชายามิกะซะ
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
7. คุนิโกะ ทะกะงิ
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 

อ้างอิง

  1. Italian Presidency, S.A.I. Yoshihito di Mikasa Principe del Giappone

แหล่งข้อมูลอื่น

ก่อนหน้า เจ้าชายโยะชิฮิโตะ เจ้าแห่งคะสึระ ถัดไป
เจ้ามิกะซะ ไฟล์:Japanese Crest of Katura no miya Yosihito.svg
ลำดับโปเจียมแห่งญี่ปุ่น
เจ้าคะสึระ
(ฝ่ายหน้า ลำดับที่ 7)

ฐานันดรอนุวงศ์