ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี 2020 รอบคัดเลือก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก 2020 AFC U-23 Championship qualification)
ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี รอบคัดเลือก 2020
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพกาตาร์ (กลุ่มเอ)
บาห์เรน (กลุ่มบี)
อิหร่าน (กลุ่มซี)
ซาอุดีอาระเบีย (กลุ่มดี)
คูเวต (กลุ่มอี)
อุซเบกิสถาน (กลุ่มเอฟ)
มองโกเลีย (กลุ่มจี)
กัมพูชา (กลุ่มเอช)
เมียนมา (กลุ่มไอ)
มาเลเซีย (กลุ่มเจ)
เวียดนาม (กลุ่มเค)
วันที่22–26 มีนาคม พ.ศ. 2562[1]
ทีม44 (จาก 1 สมาพันธ์)
สถานที่13 (ใน 11 เมืองเจ้าภาพ)
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน63
จำนวนประตู240 (3.81 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม194,470 (3,087 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดเกาหลีใต้ Lee Dong-gyeong (6 ประตู)
2018
2022

ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี 2020 รอบคัดเลือก เป็นการแข่งขันฟุตบอลเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี เพื่อคัดเลือกทีมเข้าสู่การแข่งขัน ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี 2020

ทั้งหมด 16 ทีมที่เข้ารอบจะเข้าสู่การแข่งขันในรอบต่อไป ซึ่ง ทีมชาติไทย เข้ารอบอัตโนมัติจากการเป็นเจ้าภาพในการแข่งขันรอบสุดท้าย[2] และการแข่งขันนี้จะคัดเลือกทีมเข้าสู่การแข่งขัน โอลิมปิก 2020 ที่ประเทศญี่ปุ่น

การจับสลาก[แก้]

ใน 47 ประเทศสมาชิกสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย มีทีมเข้าร่วมการแข่งขันครั้งนี้ทั้งหมด 44 ทีม โดยการแข่งขันรอบสุดท้ายจะจัดขึ้นที่ประเทศไทย และทีมชาติไทยจะได้รับสิทธิ์เข้าไปเล่นในรอบสุดท้ายโดยอัตโนมัติ

การจับสลากจัดขึ้นเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561 เวลา 15:00 น. ตามเวลาท้องถิ่น ณ สำนักงานสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย[3][4] ซึ่งทั้ง 44 ทีมจะแบ่งเป็น 11 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ทีม โดยการจับสลากครั้งนี้จะแบ่งเป็น 2 โซน

  • โซนตะวันตก: 24 ทีมจาก เอเชียตะวันตก, เอเชียกลาง และเอเชียใต้ จะแบ่งเป็น 6 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ทีม (กลุ่มเอ–กลุ่มเอฟ)
  • โซนตะวันออก: 20 ทีมจาก อาเซียน และเอเชียตะวันออก จะแบ่งเป็น 5 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ทีม (กลุ่มจี–กลุ่มเค)

โดยทีมจะถูกแบ่งลงในโถตามผลงานในการแข่งขันฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี 2018 รอบสุดท้าย และรอบคัดเลือก (โดยผลงานโดยรวมจะแสดงในวงเล็บ; NR หมายความว่าไม่มีการจัดอันดับ) โดยมีการแบ่งดังต่อไปนี้[5]

  • โดยมี 11 ทีมได้รับการคัดเลือกให้เป็นเจ้าภาพในการแข่งขันของกลุ่มนั้น
โถ 1 โถ 2 โถ 3 โถ 4
โซนตะวันตก
โซนตะวันออก
หมายเหตุ
  • ทีมที่แสดง ตัวหนา ได้เข้ารอบสู่รอบสุดท้ายแล้ว
  • (H): เจ้าภาพรอบแบ่งกลุ่ม
  • (N): ไม่ได้เป็นสมาชิกคณะกรรมการโอลิมปิกสากล ไม่สามารถเข้าไปเล่นในการแข่งขันโอลิมปิกได้
  • (Q): เจ้าภาพรอบสุดท้าย ซึ่งจะเข้ารอบโดยอัตโนมัติ
  • (W): ถอนตัวจากการจับสลาก
ไม่ได้เข้าแข่งขัน
โซนตะวันตก
โซนตะวันออก

ผู้เล่นที่สามารถลงแข่งขัน[แก้]

ผู้เล่นที่เกิดหลังจากวันที่ 1 มกราคม พ.ศ.​ 2540 สามารถลงเล่นในการแข่งขันนี้ได้[6]

รูปแบบ[แก้]

ในแต่ละกลุ่ม จะแข่งขันแบบพบกันหมดในสนามกลางของประเทศเจ้าภาพ โดย 11 ทีมชนะเลิศ และ 4 ทีมรองชนะเลิศที่ดีที่สุด จะเข้าสู่การแข่งขันรอบสุดท้าย หากทีมชาติไทยชนะเลิศหรือเป็น 4 ทีมรองชนะเลิศที่ดีที่สุด ทีมรองชนะเลิศที่ดีที่สุดอันดับที่ 5 จะได้เข้าร่วมการแข่งขันรอบสุดท้ายแทน

กฎการแข่งขัน[แก้]

ทีมจะถูกจัดอันดับโดยใช้คะแนน (ชนะ 3 คะแนน, เสมอ 1 คะแนน และแพ้ 0 คะแนน) หากมีคะแนนเท่ากัน จะใช้กฎดังนี้ในการตัดสินอันดับ ตามกฎระเบียบข้อบังคับหัวข้อ 9.3[6]

  1. คะแนนในการแข่งขันเมื่อพบกัน (เฮดทูเฮด);
  2. ผลต่างประตูได้เสียในการแข่งขันเมื่อพบกัน (เฮดทูเฮด);
  3. ประตูที่ยิงได้ในการแข่งขันเมื่อพบกัน (เฮดทูเฮด);
  4. หากมีมากกว่า 2 ทีมเสมอกันและใช้กฎตามด้านบนทั้งหมดแล้วยังเสมอกันจะใช้กฎระเบียบย่อยดังต่อไปนี้;
  5. ผลต่างประตูได้เสียในการแข่งขันของทุกกลุ่ม;
  6. ประตูที่ยิงได้ในการแข่งขันของทุกกลุ่ม;
  7. การยิงลูกโทษที่จุดโทษ หากทั้งสองทีมที่เสมอกันพบกันในนัดสุดท้าย;
  8. คะแนนความประพฤติ (ใบเหลือง = 1 คะแนน, ใบแดงจากการได้รับใบเหลืองที่สอง = 3 คะแนน, ใบแดง = 3 คะแนน, ใบเหลืองและได้รับใบแดง = 4 คะแนน);
  9. จับสลาก

กลุ่ม[แก้]

การแข่งขันจะมีขึ้นระหว่างวันที่ 22–26 มีนาคม พ.ศ. 2562

กำหนดการ
นัดที่ วันที่ การแข่งขัน
กลุ่มเอ–กลุ่มอี, กลุ่มจี–กลุ่มเจ กลุ่มเอฟ
นัดที่ 1 22 มีนาคม พ.ศ. 2562 1 v 4, 2 v 3 3 v 1
นัดที่ 2 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 4 v 2, 3 v 1 2 v 3
นัดที่ 3 26 มีนาคม พ.ศ. 2562 1 v 2, 3 v 4 1 v 2

กลุ่มเอ[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  กาตาร์ (H) 3 2 1 0 9 2 +7 7 รอบสุดท้าย
2  โอมาน 3 2 1 0 5 3 +2 7 มีสิทธิ์เข้าแข่งขันรอบสุดท้าย
3  อัฟกานิสถาน 3 1 0 2 3 4 −1 3
4 24x20px link= เนปาล 3 0 0 3 0 8 −8 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : กฎการแข่งขันรอบคัดเลือก
(H) เจ้าภาพ.
โอมาน 1–0 เนปาล
Al-Malki Goal 13' รายงาน
ผู้ชม: 600 คน
กาตาร์ 2–0 อัฟกานิสถาน
H. Ahmad Goal 13'
A. Al-Ahrak Goal 35' (ลูกโทษ)
รายงาน
ผู้ชม: 900 คน
ผู้ตัดสิน: ยูได ยามาโมโตะ (ญี่ปุ่น)

อัฟกานิสถาน 1–2 โอมาน
Haydary Goal 77' (ลูกโทษ) รายงาน Al-Matroushi Goal 56'
Al-Ghassani Goal 59' (ลูกโทษ)
ผู้ชม: 150 คน
เนปาล 0–5 กาตาร์
รายงาน A. Al-Ahrak Goal 26' (ลูกโทษ)90+2'
Al-Rawi Goal 54'80'
Rajbanshi Goal 60' (เข้าประตูตัวเอง)
ผู้ชม: 850 คน
ผู้ตัดสิน: Lau Fong Hei (ฮ่องกง)

กาตาร์ 2–2 โอมาน
H. Ahmad Goal 50'73' รายงาน Al-Hidi Goal 20'
Al-Habsi Goal 77'
ผู้ชม: 900 คน
ผู้ตัดสิน: Dmitriy Mashentsev (Kyrgyzstan)
เนปาล 0–2 อัฟกานิสถาน
รายงาน Khorami Goal 24'
Haydary Goal 34'

กลุ่มบี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  บาห์เรน (H) 3 3 0 0 12 0 +12 9 รอบสุดท้าย
2  ปาเลสไตน์ 3 2 0 1 10 2 +8 6 มีสิทธิ์เข้าแข่งขันรอบสุดท้าย
3  บังกลาเทศ 3 1 0 2 2 2 0 3
4  ศรีลังกา 3 0 0 3 0 20 −20 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : กฎการแข่งขันรอบคัดเลือก
(H) เจ้าภาพ.
ปาเลสไตน์ 9–0 ศรีลังกา
Al-Iwisat Goal 7'
Emghamis Goal 10'30'
Dabbagh Goal 24'
Iraqi Goal 60'
Salma Goal 68'
Farawi Goal 70' (ลูกโทษ)
Dahla Goal 72' (ลูกโทษ)
Abdelsalam Goal 79'
รายงาน
ผู้ชม: 1,162 คน
ผู้ตัดสิน: คิม แท-ยง (เกาหลีใต้)
บาห์เรน 1–0 บังกลาเทศ
Al-Hardan Goal 21' รายงาน

บังกลาเทศ 0–1 ปาเลสไตน์
รายงาน Abdallah Goal 22'
ศรีลังกา 0–9 บาห์เรน
รายงาน Marhoon Goal 14'45+1'
Al-Shamsi Goal 23'
Isa Goal 29' (ลูกโทษ)85'
Khalid Goal 31' (ลูกโทษ)
Al-Sherooqi Goal 48'
Bughammar Goal 74' (ลูกโทษ)80'

บังกลาเทศ 2–0 ศรีลังกา
B. Ahmed Goal 5'
Badsha Goal 18'
รายงาน
ปาเลสไตน์ 0–2 บาห์เรน
รายงาน Al-Hardan Goal 78' (ลูกโทษ)
Al-Sherooqi Goal 89'

กลุ่มซี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  อิรัก 3 2 1 0 7 0 +7 7 รอบสุดท้าย
2  อิหร่าน (H) 3 2 1 0 6 1 +5 7 มีสิทธิ์เข้าแข่งขันรอบสุดท้าย
3  เติร์กเมนิสถาน 3 0 1 2 1 5 −4 1
4  เยเมน 3 0 1 2 0 8 −8 1
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : กฎการแข่งขันรอบคัดเลือก
(H) เจ้าภาพ.
อิรัก 5–0 เยเมน
Fouad Goal 16'44' (ลูกโทษ)
H. Jabbar Goal 35'
Subeh Goal 65' (ลูกโทษ)79'
รายงาน
อิหร่าน 3–1 เติร์กเมนิสถาน
Bashimov Goal 35' (เข้าประตูตัวเอง)
Noorafkan Goal 54'
Jabireh Goal 90+2'
รายงาน Gurgenov Goal 75'
ผู้ชม: 1,732 คน
ผู้ตัดสิน: มิโนรุ โทโจ (ญี่ปุ่น)

เยเมน 0–3 อิหร่าน
รายงาน Shekari Goal 55'
Jabireh Goal 67'
Mehdikhani Goal 75'

อิรัก 0–0 อิหร่าน
รายงาน

กลุ่มดี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 3 2 1 0 10 2 +8 7 รอบสุดท้าย
2  ซาอุดีอาระเบีย (H) 3 2 1 0 9 1 +8 7 มีสิทธิ์เข้าแข่งขันรอบสุดท้าย
3  เลบานอน 3 1 0 2 7 8 −1 3
4  มัลดีฟส์ 3 0 0 3 0 15 −15 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : กฎการแข่งขันรอบคัดเลือก
(H) เจ้าภาพ.
ซาอุดีอาระเบีย 6–0 มัลดีฟส์
A. Al-Yami Goal 26'
Al-Hamddan Goal 27'67'73'
Ghareeb Goal 49'
Al-Khulaif Goal 78'
รายงาน
ผู้ชม: 122 คน
ผู้ตัดสิน: ทากูโตะ โอกาเบะ (ญี่ปุ่น)


เลบานอน 6–0 มัลดีฟส์
Kdouh Goal 24'
Darwiche Goal 26'
Mehanna Goal 59'
Monzer Goal 62'
Y. Al Haj Goal 75'
Boutros Goal 82'
รายงาน

กลุ่มอี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  จอร์แดน 3 2 1 0 6 2 +4 7 รอบสุดท้าย
2  ซีเรีย 3 2 1 0 5 1 +4 7 มีสิทธิ์เข้าแข่งขันรอบสุดท้าย
3  คูเวต (H) 3 1 0 2 4 6 −2 3
4  คีร์กีซสถาน 3 0 0 3 2 8 −6 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : กฎการแข่งขันรอบคัดเลือก
(H) เจ้าภาพ.
จอร์แดน 2–1 คูเวต
Al-Barri Goal 34'
Atieh Goal 51'
รายงาน F. Al-Otaibi Goal 21'


จอร์แดน 1–1 ซีเรีย
Atieh Goal 76' รายงาน Barakat Goal 84'

กลุ่มเอฟ[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  อุซเบกิสถาน (H) 2 1 1 0 3 0 +3 4 รอบสุดท้าย
2  ทาจิกิสถาน 2 1 1 0 2 0 +2 4 มีสิทธิ์เข้าแข่งขันรอบสุดท้าย
3  อินเดีย 2 0 0 2 0 5 −5 0
4  ปากีสถาน 0 0 0 0 0 0 0 0 ถอนตัว
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : กฎการแข่งขันรอบคัดเลือก
(H) เจ้าภาพ.
อินเดีย 0–3 อุซเบกิสถาน
รายงาน Kobilov Goal 45+1' (ลูกโทษ)
Abdixolikov Goal 78'83'

ทาจิกิสถาน 2–0 อินเดีย
Yodgorov Goal 30'
Solehov Goal 85'
รายงาน

กลุ่มจี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  เกาหลีเหนือ 3 2 1 0 4 1 +3 7 รอบสุดท้าย
2  สิงคโปร์ 3 1 2 0 5 3 +2 5 มีสิทธิ์เข้าแข่งขันรอบสุดท้าย
3  ฮ่องกง 3 1 1 1 2 3 −1 4
4  มองโกเลีย (H) 3 0 0 3 1 5 −4 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : กฎการแข่งขันรอบคัดเลือก
(H) เจ้าภาพ.


กลุ่มเอช[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  เกาหลีใต้ 3 2 1 0 16 3 +13 7 รอบสุดท้าย
2  ออสเตรเลีย 3 2 1 0 14 2 +12 7 รอบสุดท้าย
3  กัมพูชา (H) 3 0 1 2 2 13 −11 1
4  จีนไทเป 3 0 1 2 1 15 −14 1
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : กฎการแข่งขันรอบคัดเลือก
(H) เจ้าภาพ.

กัมพูชา 1–6 เกาหลีใต้
N. Kakada Goal 60' รายงาน Han Chan-hee Goal 4'
Jang Min-gyu Goal 8'
Kim Bo-sub Goal 57'
Sovann Goal 80' (เข้าประตูตัวเอง)
Lee Dong-gyeong Goal 84'90+3'

เกาหลีใต้ 2–2 ออสเตรเลีย
Cho Young-wook Goal 26'
Lee Dong-gyeong Goal 63'
รายงาน D'Agostino Goal 16'24'

กลุ่มไอ[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  ญี่ปุ่น 3 3 0 0 21 0 +21 9 รอบสุดท้าย
2  พม่า (H) 3 2 0 1 11 7 +4 6
3  ติมอร์-เลสเต 3 1 0 2 5 16 −11 3
4  มาเก๊า 3 0 0 3 3 17 −14 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : กฎการแข่งขันรอบคัดเลือก
(H) เจ้าภาพ.
ญี่ปุ่น 8–0 มาเก๊า
มาจิดะ Goal 50'
อูเอดะ Goal 54'60'71'
เอ็นโด Goal 67'
มาเอดะ Goal 69'72'
อิตากูระ Goal 90+4'
รายงาน
พม่า 7–0 ติมอร์-เลสเต
Hein Htet Aung Goal 4'5'
Myat Kaung Khant Goal 24'
Win Naing Tun Goal 45+2'64'
Zayar Naing Goal 52'
Ye Min Thu Goal 62'
รายงาน

มาเก๊า 0–4 พม่า
รายงาน Ye Min Thu Goal 2'
Win Naing Tun Goal 19' (ลูกโทษ)72'
Lwin Moe Aung Goal 86'

ติมอร์-เลสเต 5–3 มาเก๊า
Wan Tin Iao Goal 3' (เข้าประตูตัวเอง)
Gama Goal 43'
Araújo Goal 67'90+3'
Cruz Goal 79'
รายงาน Jeronimo Goal 63' (ลูกโทษ)
Leung Chi Seng Goal 66'
Leong Hou In Goal 85'
ญี่ปุ่น 7–0 พม่า
Maeda Goal 7'9'44'
Iwasaki Goal 18'69'
Nakayama Goal 38'79'
รายงาน

กลุ่มเจ[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  จีน 3 2 1 0 15 2 +13 7 รอบสุดท้าย
2  มาเลเซีย (H) 3 2 1 0 6 2 +4 7
3  ลาว 3 1 0 2 3 8 −5 3
4  ฟิลิปปินส์ 3 0 0 3 2 14 −12 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : กฎการแข่งขันรอบคัดเลือก
(H) เจ้าภาพ.
มาเลเซีย 3–0 ฟิลิปปินส์
Akhyar Goal 4'31'
Faisal Goal 83'
รายงาน

ลาว 0–1 มาเลเซีย
รายงาน Safawi Goal 81'

ลาว 3–2 ฟิลิปปินส์
Latthachack Goal 74'
Douangmaity Goal 88'
Bounkong Goal 90+3'
รายงาน Gayoso Goal 11'33' (ลูกโทษ)
มาเลเซีย 2–2 จีน
Syahmi Goal 10'
Danial Goal 55'
รายงาน Zhang Yuning Goal 16'
Jiang Shenglong Goal 84'

กลุ่มเค[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  เวียดนาม (H) 3 3 0 0 11 0 +11 9 รอบสุดท้าย
2  ไทย[a] 3 2 0 1 12 4 +8 6 รอบสุดท้าย
3  อินโดนีเซีย 3 1 0 2 2 6 −4 3
4  บรูไน 3 0 0 3 1 16 −15 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : กฎการแข่งขันรอบคัดเลือก
(H) เจ้าภาพ.
หมายเหตุ :
  1. ทีมชาติไทยเป็นเจ้าภาพในการแข่งขันรอบสุดท้าย ได้รับสิทธิ์เข้ารอบอัตโนมัติ
ไทย 4–0 อินโดนีเซีย
ชินภัทร์ Goal 22'
ศุภชัย Goal 51'71'
สุภโชค Goal 74'
รายงาน

บรูไน 0–8 ไทย
รายงาน สุภโชค Goal 21'
ศุภชัย Goal 48'65'71'
ศุภณัฏฐ์ Goal 58'
อานนท์ Goal 62'
ศฤงคาร Goal 76'
โชติภัทร Goal 90+3'
ผู้ชม: 1,178 คน
ผู้ตัดสิน: Bijan Heidari (อิหร่าน)
อินโดนีเซีย 0–1 เวียดนาม
รายงาน Triệu Việt Hưng Goal 90+4'
ผู้ชม: 25,591 คน
ผู้ตัดสิน: Saoud Al-Athbah (กาตาร์)

อินโดนีเซีย 2–1 บรูไน
Dimas Goal 31'
Raffi Goal 79'
รายงาน Azim Goal 85' (ลูกโทษ)
เวียดนาม 4–0 ไทย
Hà Đức Chinh Goal 17'
Nguyễn Hoàng Đức Goal 53'
Nguyễn Thành Chung Goal 63'
Trần Thanh Sơn Goal 90+2'
รายงาน

ตารางคะแนนทีมอันดับที่สอง[แก้]

เนื่องจากในแต่ละกลุ่มมีจำนวนทีมไม่เท่ากัน (จากการถอนตัวของปากีสถานในกลุ่มเอฟ) ผลการแข่งขันในนัดที่พบกับทีมอันดับที่ 4 ของกลุ่มที่มี 4 ทีม จะไม่ถูกนับในการจัดอันดับ

อันดับ กลุ่ม ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 H  ออสเตรเลีย 2 1 1 0 8 2 +6 4 รอบสุดท้าย
2 C  อิหร่าน 2 1 1 0 3 1 +2 4[a]
2 E  ซีเรีย 2 1 1 0 3 1 +2 4[a]
4 D  ซาอุดีอาระเบีย 2 1 1 0 3 1 +2 4[a]
5 F  ทาจิกิสถาน 2 1 1 0 2 0 +2 4
6 A  โอมาน 2 1 1 0 4 3 +1 4
7 J  มาเลเซีย 2 1 1 0 3 2 +1 4
8 I  พม่า 2 1 0 1 7 7 0 3
9 K  ไทย 2 1 0 1 4 4 0 3 รอบสุดท้าย
10 B  ปาเลสไตน์ 2 1 0 1 1 2 −1 3
11 G  สิงคโปร์ 2 0 2 0 2 2 0 2
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : 1) คะแนน; 2) ผลต่างประตู; 3) ประตูได้; 4) คะแนนระเบียบวินัย; 5) จับสลาก
หมายเหตุ :
  1. 1.0 1.1 1.2 คะแนนทางวินัย: อิหร่าน –2, ซีเรีย –2, ซาอุดิอาระเบีย –3.

ทีมที่เข้ารอบ[แก้]

ทั้ง 16 ทีมต่อไปนี้ เป็นทีมที่เข้ารอบเพื่อทำการแข่งขันในรอบสุดท้าย

ทีม เข้ารอบด้วย เข้ารอบในวันที่ การแข่งขันฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี ที่ผ่านมา1
 ไทย เจ้าภาพ 30 สิงหาคม 2018[2] 2 (2016, 2018)
 กาตาร์ ทีมชนะเลิศ กลุ่มเอ 26 มีนาคม 2019[2] 2 (2016, 2018)
 บาห์เรน ทีมชนะเลิศ กลุ่มบี 26 มีนาคม 2019[2] ครั้งแรก
 อิรัก ทีมชนะเลิศ กลุ่มซี 26 มีนาคม 2019[2] 3 (2013,2016, 2018)
 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ทีมชนะเลิศ กลุ่มดี 26 มีนาคม 2019[2] 1 (2016)
 จอร์แดน ทีมชนะเลิศ กลุ่มอี 26 มีนาคม 2019[2] 3 (2013,2016, 2018)
 อุซเบกิสถาน ทีมชนะเลิศ กลุ่มเอฟ 26 มีนาคม 2019[2] 3 (2013,2016, 2018)
 เกาหลีเหนือ ทีมชนะเลิศ กลุ่มจี 26 มีนาคม 2019[2] 3 (2013,2016, 2018)
 เกาหลีใต้ ทีมชนะเลิศ กลุ่มเอช 26 มีนาคม 2019[2] 3 (2013,2016, 2018)
 ญี่ปุ่น ทีมชนะเลิศ กลุ่มไอ 26 มีนาคม 2019[2] 3 (2013,2016, 2018)
 จีน ทีมชนะเลิศ กลุ่มเจ 26 มีนาคม 2019[2] 3 (2013,2016, 2018)
 เวียดนาม ทีมชนะเลิศ กลุ่มเค 26 มีนาคม 2019[2] 2 (2016, 2018)
 ออสเตรเลีย ทีมรองชนะเลิศอันดับที่ 1 26 มีนาคม 2019[2] 3 (2013,2016, 2018)
 อิหร่าน ทีมรองชนะเลิศอันดับที่ 3 26 มีนาคม 2019[2] 2 (2013, 2016)
 ซีเรีย ทีมรองชนะเลิศอันดับที่ 4 26 มีนาคม 2019[2] 3 (2013,2016, 2018)
 ซาอุดีอาระเบีย ทีมรองชนะเลิศอันดับที่ 2 26 มีนาคม 2019[2] 3 (2013,2016, 2018)

อันดับผู้ทำประตู[แก้]

มีการทำประตู 240 ประตู จากการแข่งขัน 63 นัด เฉลี่ย 3.81 ประตูต่อนัด


การทำประตู 6 ครั้ง

การทำประตู 5 ครั้ง

การทำประตู 4 ครั้ง

การทำประตู 3 ครั้ง

การทำประตู 2 ครั้ง

การทำประตู 1 ครั้ง

การทำเข้าประตูตัวเอง 1 ครั้ง

  • บรูไน Haimie Anak Nyaring (ในนัดที่พบกับ ไทย)
  • กัมพูชา Ouk Sovann (ในนัดที่พบกับ เกาหลีใต้)
  • มาเก๊า Wan Tin Iao (ในนัดที่พบกับ ติมอร์-เลสเต)
  • เนปาล Dinesh Rajbanshi (ในนัดที่พบกับ กาตาร์)
  • เติร์กเมนิสถาน Shazada Bashimov (ในนัดที่พบกับ อิหร่าน)

อ้างอิง[แก้]

  1. "AFC Competitions Calendar 2019". 28 February 2018. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-10-09. สืบค้นเมื่อ 2019-03-11.
  2. 2.00 2.01 2.02 2.03 2.04 2.05 2.06 2.07 2.08 2.09 2.10 2.11 2.12 2.13 2.14 2.15 2.16 "FA Thailand proposed as 2020 AFC U-23 Championship host". AFC. สืบค้นเมื่อ 30 August 2018.
  3. "Teams to learn opponents for 2020 Qualifiers". AFC. 6 November 2018.
  4. "Journey to Thailand 2020 begins". AFC. 7 November 2018.
  5. "AFC U23 Championship 2020 Qualifiers Draw". YouTube. 7 November 2018.
  6. 6.0 6.1 "Competition Regulations AFC U-23 Championship 2020". AFC. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-11-29. สืบค้นเมื่อ 2019-03-11.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]