เซทิริซีน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก เซทิไรซีน)
เซทิริซีน
ข้อมูลทางคลินิก
การอ่านออกเสียง/sɛˈtɪrɪzn/
ชื่อทางการค้าZyrtec, Incidal, อื่น ๆ
AHFS/Drugs.comโมโนกราฟ
MedlinePlusa698026
ข้อมูลทะเบียนยา
ระดับความเสี่ยงต่อทารกในครรภ์
ช่องทางการรับยาทางปาก
รหัส ATC
กฏหมาย
สถานะตามกฏหมาย
ข้อมูลเภสัชจลนศาสตร์
ชีวประสิทธิผลดูดซับได้ดี (>70%)[3]
การจับกับโปรตีน88–96%[3]
การเปลี่ยนแปลงยาขั้นต่ำ (non-cytochrome P450-mediated)[1][2]
ระยะเริ่มออกฤทธิ์20–42 นาที[2]
ครึ่งชีวิตทางชีวภาพเฉลี่ย: 8.3 ชั่วโมง[1][2]
ขอบเขต: 6.5–10 ชั่วโมง[4]
ระยะเวลาออกฤทธิ์≥24 ชั่วโมง[4]
การขับออกปัสสาวะ: 70–85%[1]
อุจจาระ: 10–13%[1]
ตัวบ่งชี้
  • (±)-[2-[4-[(4-Chlorophenyl)phenylmethyl]-1-piperazinyl]ethoxy]acetic acid
เลขทะเบียน CAS
PubChem CID
IUPHAR/BPS
DrugBank
ChemSpider
UNII
KEGG
ChEBI
ChEMBL
ECHA InfoCard100.223.545
ข้อมูลทางกายภาพและเคมี
สูตรC21H25ClN2O3
มวลต่อโมล388.89 g·mol−1
แบบจำลอง 3D (JSmol)
  • Clc1ccc(cc1)C(c2ccccc2)N3CCN(CC3)CCOCC(=O)O
  • InChI=1S/C21H25ClN2O3/c22-19-8-6-18(7-9-19)21(17-4-2-1-3-5-17)24-12-10-23(11-13-24)14-15-27-16-20(25)26/h1-9,21H,10-16H2,(H,25,26) checkY
  • Key:ZKLPARSLTMPFCP-UHFFFAOYSA-N checkY
  (verify)
สารานุกรมเภสัชกรรม

เซทิริซีน (Cetirizine) ขายภายใต้ชื่อ Zyrtec และอื่น ๆ เป็นยาต้านฮิสทามีนรุ่นที่สองที่ใช้รักษาโรคภูมิแพ้จมูก, โรคผิวหนัง และผื่นลมพิษ[5] โดยจะนำเข้าทางปาก[6]ซึ่งจะมีผลภายในหนึ่งชั่วโมงและมีอาการประมาณหนึ่งวัน[6] ผลประโยชน์ของยาชนิดนี้มีความคล้ายกับยาต้านฮิสทามีนอื่น ๆ อย่างไดเฟนไฮดรามีน[6]

ผลข้างเคียงหลักคือความง่วง ปากแห้ง ปวดหัว และปวดท้อง[6] อาการง่วงในยาชนิดนี้มักพบน้อยกว่าอาการในยาต้านฮิสทามีนรุ่นแรก[5] ถึงแม้ว่าหญิงตั้งครรภ์สามารถบริโภคได้ แต่ไม่แนะนำให้ใช้ในช่วงให้นมลูก[7] ยานี้ทำงานด้วยการบล็อกฮิสตามีน ตัวรับ H1 ที่ส่วนใหญ่พบนอกสมอง[6]

มีการจดสิทธิบัตรยานี้ใน ค.ศ. 1981[8] และเริ่มใช้งานทางการแพทย์ใน ค.ศ. 1987[9] ยานี้ได้รับการบรรจุลงในรายชื่อยาสำคัญขององค์การอนามัยโลก[10] และมีขายเป็นยาสามัญ[5]

คำเตือนและข้อควรระวัง[แก้]

  • ควรระวังการใช้ยานี้ในผู้ป่วยโรคตับ โรคไต หญิงตั้งครรภ์และกำลังให้นมบุตร

คำแนะนำระหว่างใช้ยานี้[แก้]

  • ควรระวังการใช้ในเด็กอายุต่ำกว่า 12 ปี
  • ยานี้อาจทำให้ง่วง จึงไม่ควรทำงานหรือกิจกรรมที่ต้องใช้สติ[ต้องการอ้างอิง]
  • อาจทำให้รู้สึกปากแห้ง คอแห้ง
  • ไม่ควรทานยานี้ร่วมกับสุรา หรือยากดประสาทอื่นๆ

วิธีใช้[แก้]

  • ผู้ใหญ่ และเด็กอายุมากกว่า 12 ปี 5 – 20 mg วันละครั้ง ควรทานก่อนอาหาร 1 ชม. หรือหลังอาหาร 2 ชม.
  • ขนาดยาในผู้ป่วยโรคไต เช่น Clcr 11 – 31 ml/min ผู้ป่วยที่ได้รับ hemodialysis Clcr 7 ml/min ขนาดยาในผู้ป่วยโรคตับ ควรได้รับ 5 mg วันละครั้ง

การเก็บรักษา[แก้]

ควรเก็บไว้ในภาชนะปิดสนิท พ้นจากมือเด็ก และเก็บไว้ที่อุณหภูมิห้อง

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 Portnoy JM, Dinakar C (2004). "Review of cetirizine hydrochloride for the treatment of allergic disorders". Expert Opin Pharmacother. 5 (1): 125–35. doi:10.1517/14656566.5.1.125. PMID 14680442. S2CID 28946859.
  2. 2.0 2.1 2.2 Simons FE, Simons KJ (1999). "Clinical pharmacology of new histamine H1 receptor antagonists". Clin Pharmacokinet. 36 (5): 329–52. doi:10.2165/00003088-199936050-00003. PMID 10384858. S2CID 21360079.
  3. 3.0 3.1 Chen C (2008). "Physicochemical, pharmacological and pharmacokinetic properties of the zwitterionic antihistamines cetirizine and levocetirizine". Curr. Med. Chem. 15 (21): 2173–91. doi:10.2174/092986708785747625. PMID 18781943.
  4. 4.0 4.1 Simons FE (2002). "Comparative pharmacology of H1 antihistamines: clinical relevance". Am. J. Med. 113 Suppl 9A (9): 38S–46S. doi:10.1016/s0002-9343(02)01436-5. PMID 12517581.
  5. 5.0 5.1 5.2 British national formulary : BNF 76 (76 ed.). Pharmaceutical Press. 2018. p. 279. ISBN 9780857113382.
  6. 6.0 6.1 6.2 6.3 6.4 "Cetirizine Hydrochloride Monograph for Professionals". Drugs.com (ภาษาอังกฤษ). American Society of Health-System Pharmacists. สืบค้นเมื่อ 3 March 2019.
  7. "Cetirizine Pregnancy and Breastfeeding Warnings". Drugs.com (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 3 March 2019.
  8. US patent 4525358, Baltes E, De Lannoy J, Rodriguez L, "2-[4-(Diphenylmethyl)-1-piperazinyl]-acetic acids and their amides", issued 25 June 1985, assigned to UCB Pharmaceuticals, Inc. 
  9. Fischer, Jnos; Ganellin, C. Robin (2006). Analogue-based Drug Discovery (ภาษาอังกฤษ). John Wiley & Sons. p. 549. ISBN 9783527607495.
  10. World Health Organization (2021). World Health Organization model list of essential medicines: 22nd list (2021). Geneva: World Health Organization. hdl:10665/345533. WHO/MHP/HPS/EML/2021.02.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

  • "Cetirizine". Drug Information Portal. U.S. National Library of Medicine.