เฟกโซเฟนาดีน
หน้าตา
ข้อมูลทางคลินิก | |
---|---|
ข้อมูลทะเบียนยา |
|
ระดับความเสี่ยงต่อทารกในครรภ์ | |
ช่องทางการรับยา | Oral |
รหัส ATC | |
กฏหมาย | |
สถานะตามกฏหมาย | |
ข้อมูลเภสัชจลนศาสตร์ | |
ชีวประสิทธิผล | 30-41%[1] |
การจับกับโปรตีน | 60-70% |
การเปลี่ยนแปลงยา | Hepatic (5% of dose) |
ครึ่งชีวิตทางชีวภาพ | 14.4 hours |
การขับออก | Feces (~80%) and urine (~11%) as unchanged drug |
ตัวบ่งชี้ | |
| |
เลขทะเบียน CAS | |
PubChem CID | |
DrugBank | |
ChemSpider | |
UNII | |
KEGG | |
ChEMBL | |
ECHA InfoCard | 100.228.648 |
ข้อมูลทางกายภาพและเคมี | |
สูตร | C32H39NO4 |
มวลต่อโมล | 501.656 g·mol−1 |
แบบจำลอง 3D (JSmol) | |
| |
| |
7 (what is this?) (verify) | |
เฟกโซเฟนาดีน (อังกฤษ: fexofenadine, ชื่อการค้า Allegra, Telfast, Fastofen, Tilfur, Vifas, Telfexo, Allerfexo) เป็นสารต้านฮิสทามีน ซึ่งใช้รักษาไข้ละอองฟางและอาการแสดงภูมิแพ้ที่ใกล้เคียงกัน มันถูกพัฒนาให้ใช้แทนและเป็นทางเลือกของเทอร์เฟนาดีน ซึ่งเป็นสารต้านฮิสทามีนที่ทำให้เกิดความผิดปกติของคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ซึ่งอาจนำไปสู่ภาวะหัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะได้ เฟกโซเฟนาดีน เช่นเดียวกับสารต้นฮิสทามีนรุ่นที่สองและที่สามอื่น ๆ ที่ยังไม่พร้อมจะแพร่ข้ามโครงสร้างกั้นระหว่างเลือดกับสมอง และทำให้เกิดความง่วงน้อยกว่าสารต้านฮิสทามีนรุ่นที่หนึ่ง เฟกโซเฟนาดีนออกฤทธิ์โดยเป็นสารต้านตัวรับ H1[2] สารดังกล่าวถูกเรียกว่าเป็นทั้งสารต้านฮีสทามีนรุ่นที่สอง[3]และที่สาม[4]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Lappin G, Shishikura Y, Jochemsen R, Weaver RJ, Gesson C, Houston B, Oosterhuis B, Bjerrum OJ, Rowland M, Garner C (May 2010). "Pharmacokinetics of fexofenadine: evaluation of a microdose and assessment of absolute oral bioavailability". Eur J Pharm Sci. 40 (2): 125–31. doi:10.1016/j.ejps.2010.03.009. PMID 20307657.
{{cite journal}}
: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์) - ↑ PMID 16556272 (PMID 16556272)
Citation will be completed automatically in a few minutes. Jump the queue or expand by hand - ↑ Dicpinigaitis PV, Gayle YE (November 2003). "Effect of the second-generation antihistamine, fexofenadine, on cough reflex sensitivity and pulmonary function". British journal of clinical pharmacology. 56 (5): 501–4. doi:10.1046/j.1365-2125.2003.01902.x. PMC 1884387. PMID 14651723.
- ↑ Vena GA, Cassano N, Filieri M, Filotico R, D'Argento V, Coviello C (2002). "Fexofenadine in chronic idiopathic urticaria: a clinical and immunohistochemical evaluation". Int J Immunopathol Pharmacol. 15 (3): 217–24. PMID 12575922.
{{cite journal}}
: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)