ข้ามไปเนื้อหา

วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติเกาหลีใต้

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เกาหลีใต้
สมาคมสมาคมวอลเลย์บอลเกาหลี
สมาพันธ์สมาพันธ์วอลเลย์บอลเอเชีย
หัวหน้าผู้ฝึกสอนอิตาลี สเตฟาโน่ ลาวารินี่
อันดับเอฟไอวีบี39 (ณ 3 มิถุนายน 2024)
เครื่องแบบ
เหย้า
เยือน
ชุดที่ 3
โอลิมปิกฤดูร้อน
เข้าแข่งขัน9 สมัย (ครั้งแรกเมื่อ 1964)
ผลการแข่งที่ดีที่สุด เหรียญทองแดง (1976)
ชิงแชมป์โลก
เข้าร่วมแข่งขัน10 สมัย (ครั้งแรกเมื่อ 1967)
ผลการแข่งที่ดีที่สุด อันดับ 3 (1967, 1974)
เวิลด์คัพ
เข้าร่วมแข่งขัน11 สมัย (ครั้งแรกเมื่อ 1973)
ผลการแข่งที่ดีที่สุด อันดับ 3 (1973, 1977)
www.kva.or.kr (เกาหลี)
วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติเกาหลีใต้
เหรียญรางวัล
กีฬาโอลิมปิก
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 มอนทรีออล 1976 ทีม
วอลเลย์บอลชิงแชมป์โลก
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 โตเกียว 1967 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 กวาดาลาฮารา 1974 ทีม
เวิลด์คัพ
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 อุรุกวัย 1973 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 ญี่ปุ่น 1977 ทีม
วอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 โกเบ 1997 ทีม
เอเชียนเกมส์
เหรียญทอง - ชนะเลิศ ฮิโระชิมะ 1994 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ อินช็อน 2014 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ เตหะราน 1974 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ โซล 1986 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ ปักกิ่ง 1990 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ กรุงเทพมหานคร 1998 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ ปูซาน 2002 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ กว่างโจว 2010 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 กรุงเทพมหานคร 1978 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 นิวเดลี 1982 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 จากาตาร์-ปาเล็มบัง 2018 ทีม
วอลเลย์บอลชิงแชมป์เอเชีย
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ เมลเบิร์น 1975 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ ฮ่องกง 1989 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ เชียงใหม่ 1995 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ มะนิลา 1997 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ ฮ่องกง 1999 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ นครราชสีมา 2001 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 ฮ่องกง 1979 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 ฟุกุโอะกะ 1983 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 เซี่ยงไฮ้ 1987 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 กรุงเทพมหานคร 1991 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 เซี่ยงไฮ้ 1993 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 นครโฮจิมินห์ 2003 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 ไทเป 2011 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 นครราชสีมา 2013 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 บีณัน/มันตินลูปา 2017 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 โซล 2019 ทีม
วอลเลย์บอลชิงแชมป์เอเชียนคัพ
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ นครราชสีมา 2008 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 ไท่ฉาง 2010 ทีม

วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติเกาหลีใต้ (เกาหลี: 대한민국 여자 배구 국가대표팀) เป็นตัวแทนของประเทศเกาหลีใต้ในการแข่งขันวอลเลย์บอลระดับนานาชาติรวมถึงนัดกระชับมิตร ทีมนี้เป็นหนึ่งในทีมระดับแถวหน้าของโลกในช่วงยุคทศวรรษที่ 1970, 1990 และยังคงเป็นหนึ่งในทีมวอลเลย์บอลหญิงที่ดีที่สุดของเอเชีย รวมถึงเคยได้รับรางวัลเหรียญทองแดงจากการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 ที่มอนทรีออล ประเทศแคนาดา, อันดับ 4 จากการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน ถึง 3 ครั้งที่โอลิมปิกมิวนิก1972,โอลิมปิกฤดูร้อนที่ลอนดอน 2012 และโอลิมปิก ฤดูร้อนที่โตเกียว 2020

รายชื่อผู้เล่นชุดปัจจุบัน

[แก้]
เบอร์ ชื่อ วันเกิด ส่วนสูง น้ำหนัก จุดตบ จุดบล็อก ตำแหน่ง สโมสร 2021-2022
1. อี โซย็อง 17 ตุลาคม ค.ศ. 1994(1994-10-17) 176 68 280 265 ตัวตบหัวเสา เกาหลีใต้ แทจ็อน เคจีซี
3. ย็อม ฮเยซ็อน 03 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1991(1991-02-03) 177 65 278 263 ตัวเซต เกาหลีใต้ แทจ็อน เคจีซี
4. คิม ฮีจิน 29 เมษายน ค.ศ. 1991(1991-04-29) 185 75 300 295 บีหลัง/บอลเร็ว เกาหลีใต้ ฮวาซ็อง ไอบีเค อัลทอส
7. อัน ฮเยจิน 16 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1998(1998-02-16) 175 64 256 231 ตัวเซต เกาหลีใต้ จีเอส คาลเท็กซ์โซล
8. พัค อึนจิน 15 ธันวาคม ค.ศ. 1999(1999-12-15) 187 73 296 281 บอลเร็ว เกาหลีใต้ แทจ็อน เคจีซี
9. โอ จี-ย็อง(L) 11 กรกฎาคม ค.ศ. 1988(1988-07-11) 170 68 275 266 ตัวรับอิสระ เกาหลีใต้ จีเอส คาลเท็กซ์โซล
10. คิม ย็อน-คย็อง (C) 26 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1988(1988-02-26) 192 73 330 320 ตัวตบหัวเสา จีน เซี่ยงไฮ้
11. คิม ซูจี 20 มิถุนายน ค.ศ. 1987(1987-06-20) 186 68 303 294 บอลเร็ว เกาหลีใต้ ฮวาซ็อง ไอบีเค อัลทอส
13. พัค จ็องอา 26 มีนาคม ค.ศ. 1993(1993-03-26) 187 73 300 290 บีหลัง/ตัวตบหัวเสา เกาหลีใต้ คย็องบก คิมช็อน ไฮพาส
14. ยัง ฮโย-จิน 14 ธันวาคม ค.ศ. 1989(1989-12-14) 190 72 287 280 บอลเร็ว เกาหลีใต้ ซูว็อน ฮุนได
16. จอง จียุน 1 มกราคม 2001 180 71 295 280 บีหลัง เกาหลีใต้ ซูว็อน ฮุนได
19. พโย ซึงจู 07 สิงหาคม ค.ศ. 1992(1992-08-07) 182 72 290 270 ตัวตบหัวเสา เกาหลีใต้ ฮวาซ็อง ไอบีเค อัลทอส

รางวัล

[แก้]
  • ญี่ปุ่น 1964 – อันดับที่ 6
  • เม็กซิโก 1968 – อันดับที่ 5
  • เยอรมนี 1972 – อันดับที่ 4
  • แคนาดา 1976 เหรียญทองแดง
  • สหภาพโซเวียต 1980 – ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • สหรัฐ 1984 – อันดับที่ 5
  • เกาหลีใต้ 1988 – อันดับที่ 8
  • สเปน 1992 – ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • สหรัฐ 1996 – อันดับที่ 6
  • ออสเตรเลีย 2000 – อันดับที่ 8
  • กรีซ 2004 – อันดับที่ 5
  • จีน 2008 – ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • สหราชอาณาจักร 2012 – อันดับที่ 4
  • บราซิล 2016 – อันดับที่ 8
  • ญี่ปุ่น 2020 - อันดับที่ 4
  • สหภาพโซเวียต 1952 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ฝรั่งเศส 1956 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • บราซิล 1960 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • บราซิล 1962 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 1967 : เหรียญทองแดง
  • บัลแกเรีย 1970 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • เม็กซิโก 1974 : เหรียญทองแดง
  • สหภาพโซเวียต 1978 : อันดับที่ 4
  • เปรู 1982 : อันดับที่ 7
  • เชโกสโลวาเกีย 1986 : อันดับที่ 8
  • จีน 1990 : อันดับที่ 5
  • บราซิล 1994 : อันดับที่ 4
  • ญี่ปุ่น 1998 : อันดับที่ 9
  • เยอรมนี 2002 : อันดับที่ 6
  • ญี่ปุ่น 2006 : อันดับที่ 13
  • ญี่ปุ่น 2010 : อันดับที่ 13
  • อิตาลี 2014 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 2018 : อันดับที่ 17
  • เนเธอร์แลนด์ โปแลนด์ 2022 :
  • อุรุกวัย 1973 : เหรียญทองแดง
  • ญี่ปุ่น 1977 : เหรียญทองแดง
  • ญี่ปุ่น 1981 : ไม่ได้เข้าร่วมแข่งขัน
  • ญี่ปุ่น 1985 : ไม่ได้เข้าร่วมแข่งขัน
  • ญี่ปุ่น 1989 : อันดับที่ 7
  • ญี่ปุ่น 1991 : อันดับที่ 6
  • ญี่ปุ่น 1995 : อันดับที่ 5
  • ญี่ปุ่น 1999 : อันดับที่ 4
  • ญี่ปุ่น 2003 : อันดับที่ 9
  • ญี่ปุ่น 2007 : อันดับที่ 8
  • ญี่ปุ่น 2011 : อันดับที่ 9
  • ญี่ปุ่น 2015 : อันดับที่ 6
  • ญี่ปุ่น 2019 : อันดับที่ 6
  • ญี่ปุ่น 1993 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 1997 : อันดับที่ 6
  • ญี่ปุ่น 2001 : อันดับที่ 6
  • ญี่ปุ่น 2005 : อันดับที่ 6
  • ญี่ปุ่น 2009 : อันดับที่ 5
  • ญี่ปุ่น 2013 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 2017 : อันดับที่ 6
  • ฮ่องกง 1993 : อันดับที่ 5
  • จีน 1994 : อันดับที่ 5
  • จีน 1995 : อันดับที่ 5
  • จีน 1996 : อันดับที่ 7
  • ญี่ปุ่น 1997 : เหรียญทองแดง
  • ฮ่องกง 1998 : อันดับที่ 6
  • จีน 1999 : อันดับที่ 6
  • ฟิลิปปินส์ 2000 : อันดับที่ 6
  • มาเก๊า 2001 : อันดับที่ 7
  • ฮ่องกง 2002 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • อิตาลี 2003 : อันดับที่ 6
  • อิตาลี 2004 : อันดับที่ 11
  • ญี่ปุ่น 2005 : อันดับที่ 9
  • อิตาลี 2006 : อันดับที่ 9
  • จีน 2007 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 2008 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 2009 : อันดับที่ 12
  • จีน 2010 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • มาเก๊า 2011 : อันดับที่ 9
  • จีน 2012 : อันดับที่ 14
  • ญี่ปุ่น 2013 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 2014 : อันดับที่ 9
  • สหรัฐ 2015 : ถอนทีมออกจากการแข่งขัน
  • ไทย 2016 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • จีน 2017 : อันดับที่ 14
  • จีน 2018 : อันดับที่ 12
  • จีน 2019 : อันดับที่ 15
  • อิตาลี 2021 : อันดับที่ 15
  • ตุรกี 2022 : อันดับที่ 16
  • อินโดนีเซีย 1962 : เหรียญเงิน
  • ไทย 1966 : เหรียญเงิน
  • ไทย 1970 : เหรียญเงิน
  • อิหร่าน 1974 : เหรียญเงิน
  • ไทย 1978 : เหรียญทองแดง
  • อินเดีย 1982 : เหรียญทองแดง
  • เกาหลีใต้ 1986 : เหรียญทองแดง
  • จีน 1990 : เหรียญเงิน
  • ญี่ปุ่น 1994 : เหรียญทอง
  • ไทย 1998 : เหรียญเงิน
  • เกาหลีใต้ 2002 : เหรียญเงิน
  • ประเทศกาตาร์ 2006 : อันดับที่ 5
  • จีน 2010 : เหรียญเงิน
  • เกาหลีใต้ 2014 : เหรียญทอง
  • อินโดนีเซีย 2018 : เหรียญทองแดง
  • ออสเตรเลีย 1975 : เหรียญเงิน
  • ฮ่องกง 1979 : เหรียญทองแดง
  • ญี่ปุ่น 1983 : เหรียญทองแดง
  • จีน 1987 : เหรียญทองแดง
  • ฮ่องกง 1989 : เหรียญเงิน
  • ไทย 1991 : เหรียญทองแดง
  • จีน 1993 : เหรียญทองแดง
  • ไทย 1995 : เหรียญเงิน
  • ฟิลิปปินส์ 1997 : เหรียญเงิน
  • ฮ่องกง 1999 : เหรียญเงิน
  • ไทย 2001 : เหรียญเงิน
  • เวียดนาม 2003 : เหรียญทองแดง
  • จีน 2005 : อันดับที่ 4
  • ไทย 2007 : อันดับที่ 4
  • เวียดนาม 2009 : อันดับที่ 4
  • จีนไทเป 2011 : เหรียญทองแดง
  • ไทย 2013 : เหรียญทองแดง
  • จีน 2015 : เหรียญเงิน
  • ฟิลิปปินส์ 2017 : เหรียญทองแดง
  • เกาหลีใต้ 2019 : เหรียญทองแดง
  • ฟิลิปปินส์ 2021 : ยกเลิก​เนื่องจาก​สถานการณ์​โควิด-19
  • ไทย 2023 : อันดับ​ที่​6
  • ไทย 2008 : เหรียญเงิน
  • จีน 2010 : เหรียญทองแดง
  • คาซัคสถาน 2012 : อันดับที่ 6
  • จีน 2014 : เหรียญเงิน
  • เวียดนาม 2016 : อันดับที่ 8
  • ไทย 2018 : อันดับที่ 6
  • ฟิลิปปินส์ 2022 : อันดับที่ 9

อ้างอิง

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]

|}