รายชื่อแหล่งมรดกโลกในสหรัฐ
องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของสหรัฐอเมริกาทั้งสิ้น 24 แหล่ง[1] เป็นแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม 11 แหล่ง แหล่งมรดกโลกทางธรรมชาติอีก 12 แหล่ง และแหล่งมรดกโลกแบบผสมอีก 1 แหล่ง
สถานที่ที่ได้ขึ้นทะเบียนเป็นแหล่งมรดกโลก[แก้]
แหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม[แก้]
- *หมายเหตุ: ระบุชื่อสถานที่ตามที่ขึ้นทะเบียนในบัญชีแหล่งมรดกโลก
สถานที่ | ภาพ | ที่ตั้ง | ประเภท | พื้นที่ (เฮกตาร์) |
ปีขึ้นทะเบียน (พ.ศ./ค.ศ.) |
หมายเหตุ | อ้างอิง |
---|---|---|---|---|---|---|---|
อุทยานแห่งชาติเมซาเวอร์ดี | ![]() |
รัฐโคโลราโด | วัฒนธรรม: (iii) |
21,043 | 2521/1978 | 27[2] | |
อินดิเพนเดนซ์ฮอลล์ | ![]() |
รัฐเพนซิลเวเนีย | วัฒนธรรม: (vi) |
2 | 2522/1979 | 78[3] | |
แหล่งประวัติศาสตร์แห่งรัฐคะโฮเกียเมานดส์ | รัฐอิลลินอย | วัฒนธรรม: (iii), (iv) |
541 | 2525/1982 | 198[4] | ||
ลาฟอร์ตาเลซาและแหล่งประวัติศาสตร์แห่งชาติซานฮวนในปวยร์โตรีโก | ![]() |
ปวยร์โตรีโก | วัฒนธรรม: (vi) |
33.39 | 2526/1983 | ในฐานะดินแดนของสหรัฐ | 266[5] |
อนุสาวรีย์เทพีเสรีภาพ | ![]() |
รัฐนิวยอร์ก | วัฒนธรรม: (i), (vi) |
5.95 | 2527/1984 | 307[6] | |
วัฒนธรรมชาโก | ![]() |
รัฐนิวเม็กซิโก | วัฒนธรรม: (iii) |
14,261 | 2530/1987 | 353[7] | |
มอนติเซลโลและมหาวิทยาลัยเวอร์จิเนียในชาร์ลอตส์วิลล์ | ![]() |
รัฐเวอร์จิเนีย | วัฒนธรรม: (i), (iv), (vi) |
795.96 | 2530/1987 | 442[8] | |
ชุมชนพื้นเมืองตาโอส | ![]() |
รัฐนิวเม็กซิโก | วัฒนธรรม: (iv) |
19.01 | 2535/1992 | 492[9] | |
งานดินเชิงโบราณสถานแห่งพอเวอร์ตีพ็อยนต์ | ![]() |
รัฐลุยเซียนา | วัฒนธรรม: (iii) |
163 | 2557/2014 | 1435[10] | |
ศูนย์เผยแผ่ศาสนาแห่งแซนแอนโทนีโอ | รัฐเท็กซัส | วัฒนธรรม: (ii) |
300.8; พื้นที่กันชน 2,068 |
2558/2015 | 1466[11] | ||
สถาปัตยกรรมศตวรรษที่ 20 ของแฟรงก์ ลอยด์ ไรต์ | ![]() |
รัฐแคลิฟอร์เนีย, รัฐนิวยอร์ก, รัฐเพนซิลเวเนีย, รัฐวิสคอนซิน, รัฐอิลลินอย และรัฐแอริโซนา | วัฒนธรรม: (ii) |
25.723; พื้นที่กันชน 710.103 |
2562/2019 | 1496[12] |
แหล่งมรดกโลกทางธรรมชาติ[แก้]
- *หมายเหตุ: ระบุชื่อสถานที่ตามที่ขึ้นทะเบียนในบัญชีแหล่งมรดกโลก
สถานที่ | ภาพ | ที่ตั้ง | ประเภท | พื้นที่ (เฮกตาร์) |
ปีขึ้นทะเบียน (พ.ศ./ค.ศ.) |
หมายเหตุ | อ้างอิง |
---|---|---|---|---|---|---|---|
อุทยานแห่งชาติเยลโลว์สโตน | ![]() |
รัฐมอนแทนา, รัฐไวโอมิง และรัฐไอดาโฮ | ธรรมชาติ: (vii), (viii), (ix), (x) |
898,349 | 2521/1978 | 28[13] | |
อุทยานแห่งชาติแกรนด์แคนยอน | ![]() |
รัฐแอริโซนา | ธรรมชาติ: (vii), (viii), (ix), (x) |
493,270 | 2522/1979 | 75[14] | |
อุทยานแห่งชาติเอเวอร์เกลดส์ | ![]() |
รัฐฟลอริดา | ธรรมชาติ: (viii), (ix), (x) |
567,017 | 2522/1979 | เป็นแหล่งมรดกโลกที่กำลังตกอยู่ในภาวะอันตราย | 76[15] |
คลูอานี / แรงเกลล์-เซนต์อิไลอัส / เกลเชอร์เบย์ / แทตเชนชีนี-แอลเซก (ร่วมกับแคนาดา) |
![]() |
รัฐอะแลสกา | ธรรมชาติ: (vii), (viii), (ix), (x) |
9,839,121 | 2522/1979; เพิ่มเติม 2535/1992 และ 2537/1994 |
72[16] | |
อุทยานแห่งชาติและอุทยานแห่งรัฐเรดวุด | ![]() |
รัฐแคลิฟอร์เนีย | ธรรมชาติ: (vii), (ix) |
41,571 | 2523/1980 | 134[17] | |
อุทยานแห่งชาติแมมมอทเคฟ | ![]() |
รัฐเคนทักกี | ธรรมชาติ: (vii), (viii), (x) |
21,191 | 2524/1981 | 150[18] | |
อุทยานแห่งชาติโอลิมปิก | ![]() |
รัฐวอชิงตัน | ธรรมชาติ: (vii), (ix) |
369,659.8 | 2524/1981 | 151[19] | |
อุทยานแห่งชาติทิวเขาเกรตสโมกกี | ![]() |
รัฐเทนเนสซี และรัฐนอร์ทแคโรไลนา |
ธรรมชาติ: (vii), (viii), (ix), (x) |
209,000 | 2526/1983 | 259[20] | |
อุทยานแห่งชาติโยเซมิตี | รัฐแคลิฟอร์เนีย | ธรรมชาติ: (vii), (viii) |
307,934 | 2527/1984 | 308[21] | ||
อุทยานแห่งชาติภูเขาไฟฮาวาย | ![]() |
รัฐฮาวาย | ธรรมชาติ: (viii) |
87,940 | 2530/1987 | ตั้งอยู่ในเขตโอเชียเนีย | 409[22] |
อุทยานแห่งชาติคาร์ลสแบดแคเวินส์ | ![]() |
รัฐนิวเม็กซิโก | ธรรมชาติ: (vii), (viii) |
18,926 | 2538/1995 | 721[23] | |
อุทยานสันติภาพระหว่างประเทศวอเตอร์ตัน-เกลเชอร์ (ร่วมกับแคนาดา) |
![]() |
รัฐมอนแทนา | ธรรมชาติ: (vii), (ix) |
457,614 | 2538/1995 | 354[24] |
แหล่งมรดกโลกแบบผสม[แก้]
- *หมายเหตุ: ระบุชื่อสถานที่ตามที่ขึ้นทะเบียนในบัญชีแหล่งมรดกโลก
สถานที่ | ภาพ | ที่ตั้ง | ประเภท | พื้นที่ (เฮกตาร์) |
ปีขึ้นทะเบียน (พ.ศ./ค.ศ.) |
หมายเหตุ | อ้างอิง |
---|---|---|---|---|---|---|---|
ปาปาฮาเนาโมกูวาเกยา | ![]() |
รัฐฮาวายและเกาะเล็กรอบนอกของสหรัฐ | ผสม: (iii), (vi), (viii), (ix), (x) |
36,207,499 | 2553/2010 | ตั้งอยู่ในเขตโอเชียเนีย | 1326[25] |
สถานที่ที่ได้ขึ้นบัญชีรายชื่อเบื้องต้น[แก้]
สหรัฐมีสถานที่ที่ได้ขึ้นบัญชีรายชื่อเบื้องต้น (Tentative List) เพื่อพิจารณาเป็นแหล่งมรดกโลกในอนาคตทั้งสิ้น 19 แห่ง[1]
อ้างอิง[แก้]
- ↑ 1.0 1.1 "World Heritage Properties in United States of America". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 11 กรกฎาคม 2019.
- ↑ "Mesa Verde National Park". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 11 กรกฎาคม 2019.
- ↑ "Independence Hall". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 11 กรกฎาคม 2019.
- ↑ "Cahokia Mounds State Historic Site". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 11 กรกฎาคม 2019.
- ↑ "La Fortaleza and San Juan National Historic Site in Puerto Rico". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 11 กรกฎาคม 2019.
- ↑ "Statue of Liberty". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 11 กรกฎาคม 2019.
- ↑ "Chaco Culture". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 11 กรกฎาคม 2019.
- ↑ "Monticello and the University of Virginia in Charlottesville". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 11 กรกฎาคม 2019.
- ↑ "Taos Pueblo". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 11 กรกฎาคม 2019.
- ↑ "Monumental Earthworks of Poverty Point". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 11 กรกฎาคม 2019.
- ↑ "San Antonio Missions". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 11 กรกฎาคม 2019.
- ↑ "The 20th-Century Architecture of Frank Lloyd Wright". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 11 กรกฎาคม 2019.
- ↑ "Yellowstone National Park". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 11 กรกฎาคม 2019.
- ↑ "Grand Canyon National Park". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 11 กรกฎาคม 2019.
- ↑ "Everglades National Park". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 11 กรกฎาคม 2019.
- ↑ "Kluane / Wrangell-St. Elias / Glacier Bay / Tatshenshini-Alsek". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 11 กรกฎาคม 2019.
- ↑ "Redwood National and State Parks". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 11 กรกฎาคม 2019.
- ↑ "Mammoth Cave National Park". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 11 กรกฎาคม 2019.
- ↑ "Olympic National Park". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 11 กรกฎาคม 2019.
- ↑ "Great Smoky Mountains National Park". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 11 กรกฎาคม 2019.
- ↑ "Yosemite National Park". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 11 กรกฎาคม 2019.
- ↑ "Hawaii Volcanoes National Park". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 11 กรกฎาคม 2019.
- ↑ "Carlsbad Caverns National Park". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 11 กรกฎาคม 2019.
- ↑ "Waterton Glacier International Peace Park". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 11 กรกฎาคม 2019.
- ↑ "Papahānaumokuākea". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 11 กรกฎาคม 2019.