ฟุตบอลโลก 2022 รอบคัดเลือก โซนยุโรป – รอบที่ 2

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟุตบอลโลก 2022 รอบคัดเลือก โซนยุโรป – รอบที่ 2
รายละเอียดการแข่งขัน
วันที่24 มีนาคม พ.ศ. 2565 – 5 มิถุนายน พ.ศ. 2565
ทีม12 (จาก 1 สมาพันธ์)
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน8
จำนวนประตู18 (2.25 ประตูต่อนัด)
2018
2026

การแข่งขันฟุตบอลโลก 2022 รอบคัดเลือก โซนยุโรป – รอบที่ 2 หรือที่รู้จักกันในชื่อ ยูฟ่าเพลย์ออฟ (UEFA play-offs) เป็นการแข่งขันฟุตบอลระหว่างประเทศของทวีปยุโรปในรอบที่สอง เพื่อคัดเลือกทีมฟุตบอลเข้าแข่งขันฟุตบอลโลก 2022 รอบสุดท้ายที่ประเทศกาตาร์ จะแข่งขันกันโดย 12 ทีมจากรอบคัดเลือกของยูฟ่า เพลย์ออฟจะตัดสินทีมยุโรป 3 ทีมสุดท้ายที่จะเข้าร่วมกลุ่มผู้ชนะในการแข่งขันฟุตบอลโลกที่กาตาร์ รองชนะเลิศ 10 ทีมจากกลุ่มรอบแรกของยูฟ่าจะเข้าร่วมแข่งขันในรอบเพลย์ออฟ พร้อมด้วยผู้ชนะ 2 ทีมจากยูฟ่าเนชันส์ลีก ฤดูกาล 2020–21 แต่ละทีมจะแบ่งออกเป็นสามกลุ่ม แต่ละกลุ่มประกอบด้วยสี่ทีม โดยแต่ละกลุ่มเพลย์ออฟจะมีรอบรองชนะเลิศแบบขาเดียวสองรอบ และรอบชิงชนะเลิศแบบขาเดียวอีกหนึ่งรอบ การแข่งขันทั้ง 9 นัดจะมีขึ้นในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2565

ทีมที่ผ่านเข้ารอบ[แก้]

สิบสองทีมจะเข้าสู่รอบเพลย์ออฟ ไม่เหมือนกับการแข่งขันครั้งก่อน ผู้เข้าร่วมทั้งหมดจะไม่ถูกตัดสินจากผลของรอบแรกเพียงอย่างเดียว โดย 2 ใน 12 ทีมจะถูกจัดสรรให้กับผู้ชนะกลุ่มของยูฟ่าเนชันส์ลีก ฤดูกาล 2020–21[1]

ทีมอันดับสอง (ทั้งหมด 10 ทีม)[แก้]

รองชนะเลิศ 10 ทีมจากรอบแรกของยูฟ่า จะได้เข้าสู่เพลย์ออฟ จากผลการแข่งขันรอบแบ่งกลุ่ม ทีมอันดับดีที่สุดทั้ง 6 ทีมจะได้รับการวางอันดับ ขณะที่ 4 อันดับหลังจะไม่เป็นทีมวางในรอบรองชนะเลิศ[2]

Seed กลุ่ม ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน Seeding
1 A ธงชาติโปรตุเกส โปรตุเกส 8 5 2 1 17 6 +11 17 ทีมวางในรอบรองชนะเลิศ
2 F ธงชาติสกอตแลนด์ สกอตแลนด์ 8 5 2 1 14 7 +7 17
3 C ธงชาติอิตาลี อิตาลี 8 4 4 0 13 2 +11 16
4 H ธงชาติรัสเซีย รัสเซีย 8 5 1 2 14 5 +9 16
5 B ธงชาติสวีเดน สวีเดน 8 5 0 3 12 6 +6 15
6 E ธงชาติเวลส์ เวลส์ 8 4 3 1 14 9 +5 15
7 G ธงชาติตุรกี ตุรกี 8 4 3 1 18 16 +2 15 ไม่ได้เป็นทีมวางในรอบรองชนะเลิศ
8 I ธงชาติโปแลนด์ โปแลนด์ 8 4 2 2 18 10 +8 14
9 J Flag of North Macedonia มาซิโดเนียเหนือ 8 3 3 2 14 11 +3 12
10 D ธงชาติยูเครน ยูเครน 8 2 6 0 11 8 +3 12
แหล่งที่มา : FIFA
กฎการจัดอันดับ : นับเฉพาะนัดกับทีมอันดับ 1 ถึง 5 ในกลุ่ม, 1. คะแนน; 2. ผลต่างประตู; 3. จำนวนประตู; 4. Away goals scored; 5. ชนะ; 6. Away wins; 7. Lower disciplinary points total; 8. อันดับใน ยูฟ่าเนชันส์ลีก ฤดูกาล 2020–21[2]

ชนะเลิศกลุ่มเนชันส์ลีก (สองทีมที่ดีที่สุดผ่านเข้ารอบ)[แก้]

ขึ้นอยู่กับ ยูฟ่าเนชันส์ลีก ฤดูกาล 2020–21 ตารางคะแนนโดยรวม,[3] สองทีมชนะเลิศเนชันส์ลีกที่ดีที่สุดที่จบนอกสองอันดับสูงสุดของกลุ่มรอบคัดเลือกของพวกเขาจะได้เข้าสู่เพลย์ออฟและไม่ได้เป็นทีมวางในการจับสลากรอบรองชนะเลิศ.[1][2]

UNL Rank ชนะเลิศกลุ่ม ยูเอ็นแอล กลุ่ม
รอบคัดเลือก
เอ 1 ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส ดี
2 ธงชาติสเปน สเปน บี
3 ธงชาติอิตาลี อิตาลี ซี
4 ธงชาติเบลเยียม เบลเยียม อี
บี 17 ธงชาติเวลส์ เวลส์ อี
18 ธงชาติออสเตรีย ออสเตรีย double-dagger เอฟ
19 ธงชาติเช็กเกีย เช็กเกีย double-dagger อี
20 ธงชาติฮังการี ฮังการี ไอ
ซี 33 ธงชาติสโลวีเนีย สโลวีเนีย เอช
34 ธงชาติมอนเตเนโกร มอนเตเนโกร จี
35 ธงชาติแอลเบเนีย แอลเบเนีย ไอ
36 ธงชาติอาร์มีเนีย อาร์มีเนีย เจ
ดี 49 ธงชาติยิบรอลตาร์ ยิบรอลตาร์ จี
50 Flag of the Faroe Islands หมู่เกาะแฟโร เอฟ

สัญลักษณ์สี

  •  †  ทีมที่จบในสองสูงสุดของกลุ่มรอบคัดเลือก
  •  double-dagger  ทีม (ที่อยู่ใน ตัวหนา) ผ่านเข้าสู่เพลย์ออฟในฐานะหนึ่งของสองทีมชนะเลิศกลุ่มเนชันส์ลีกนอกเหนือสองทีมบนของกลุ่มรอบคัดเลือกของพวกเขา

การจับสลาก[แก้]

โถ 1 (ทีมวาง)
ทีม อันดับ
ธงชาติโปรตุเกส โปรตุเกส 1
ธงชาติสกอตแลนด์ สกอตแลนด์ 2
ธงชาติอิตาลี อิตาลี 3
ธงชาติรัสเซีย รัสเซีย 4
ธงชาติสวีเดน สวีเดน 5
ธงชาติเวลส์ เวลส์ 6
โถ 2 (ไม่ได้เป็นทีมวาง)
ทีม อันดับ
ธงชาติตุรกี ตุรกี 7
ธงชาติโปแลนด์ โปแลนด์ 8
Flag of North Macedonia มาซิโดเนียเหนือ 9
ธงชาติยูเครน ยูเครน 10
ธงชาติออสเตรีย ออสเตรีย NL–18
ธงชาติเช็กเกีย เช็กเกีย NL–19

ตารางการแข่งขัน[แก้]

รอบรองชนะเลิศจะลงเล่นในวันที่ 24 มีนาคม, และแมตช์ในรอบชิงชนะเลิศในวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2565.[4][5] เวลาคิกออฟได้รับการยืนยันเมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564 เป็นไปตามการจับสลาก.[6][7]

เวลาคือ CET/CEST,[note 1] เป็นไปตามที่ลิสต์ไว้โดยยูฟ่า (เวลาท้องถิ่น, if different, are in parentheses).

สาย เอ[แก้]

สายการแข่งขัน[แก้]

 
รอบรองชนะเลิศรอบชิงชนะเลิศ
 
      
 
24 มีนาคม พ.ศ. 2565 – คาร์ดิฟฟ์
 
 
ธงชาติเวลส์ เวลส์2
 
5 มิถุนายน พ.ศ. 2565 – คาร์ดิฟฟ์
 
ธงชาติออสเตรีย ออสเตรีย1
 
ธงชาติเวลส์ เวลส์1
 
1 มิถุนายน พ.ศ. 2565 – กลาสโกว์
 
ธงชาติยูเครน ยูเครน0
 
ธงชาติสกอตแลนด์ สกอตแลนด์1
 
 
ธงชาติยูเครน ยูเครน3
 

สรุป[แก้]

ทีมหนึ่ง  ผล  ทีมสอง
รอบรองชนะเลิศ
สกอตแลนด์ ธงชาติสกอตแลนด์ 1–3 ธงชาติยูเครน ยูเครน
เวลส์ ธงชาติเวลส์ 2–1 ธงชาติออสเตรีย ออสเตรีย
รอบชิงชนะเลิศ
เวลส์ ธงชาติเวลส์ 1–0 ธงชาติยูเครน ยูเครน


รอบรองชนะเลิศ[แก้]


รอบชิงชนะเลิศ[แก้]

สาย บี[แก้]

สายการแข่งขัน[แก้]

 
รอบรองชนะเลิศรอบชิงชนะเลิศ
 
      
 
ยกเลิก
 
 
ธงชาติรัสเซีย รัสเซีย
 
29 มีนาคม พ.ศ. 2565 – Chorzów
 
ธงชาติโปแลนด์ โปแลนด์[note 4]ชนะบาย
 
ธงชาติโปแลนด์ โปแลนด์2
 
24 มีนาคม พ.ศ. 2565 – โซลนา
 
ธงชาติสวีเดน สวีเดน0
 
ธงชาติสวีเดน สวีเดน
(ต่อเวลา)
1
 
 
ธงชาติเช็กเกีย เช็กเกีย0
 

สรุป[แก้]

ทีมหนึ่ง  ผล  ทีมสอง
รอบรองขนะเลิศ
รัสเซีย ธงชาติรัสเซีย ชนะบาย[note 4] ธงชาติโปแลนด์ โปแลนด์
สวีเดน ธงชาติสวีเดน 1–0
(ต่อเวลา)
ธงชาติเช็กเกีย เช็กเกีย
รอบชิงชนะเลิศ
โปแลนด์ ธงชาติโปแลนด์ 2–0 ธงชาติสวีเดน สวีเดน


รอบรองชนะเลิศ[แก้]

โปแลนด์ชนะบาย[note 4]


รอบชิงชนะเลิศ[แก้]

สาย ซี[แก้]

สายการแข่งขัน[แก้]

 
รอบรองชนะเลิศรอบชิงชนะเลิศ
 
      
 
24 มีนาคม พ.ศ. 2565 – โปร์ตู
 
 
ธงชาติโปรตุเกส โปรตุเกส3
 
29 มีนาคม พ.ศ. 2565 – โปร์ตู
 
ธงชาติตุรกี ตุรกี1
 
ธงชาติโปรตุเกส โปรตุเกส2
 
24 มีนาคม พ.ศ. 2565 – ปาแลร์โม
 
Flag of North Macedonia มาซิโดเนียเหนือ0
 
ธงชาติอิตาลี อิตาลี0
 
 
Flag of North Macedonia มาซิโดเนียเหนือ1
 

สรุป[แก้]

ทีมหนึ่ง  ผล  ทีมสอง
รอบรองชนะเลิศ
อิตาลี ธงชาติอิตาลี 0–1 Flag of North Macedonia มาซิโดเนียเหนือ
โปรตุเกส ธงชาติโปรตุเกส 3–1 ธงชาติตุรกี ตุรกี
รอบชิงชนะเลิศ
โปรตุเกส ธงชาติโปรตุเกส 2–0 Flag of North Macedonia มาซิโดเนียเหนือ


รอบรองชนะเลิศ[แก้]


รอบชิงชนะเลิศ[แก้]

ผู้ทำประตู[แก้]

มีการทำประตูทั้งหมด 18 ประตู จากการแข่งขัน 8 นัด เฉลี่ย 2.25 ประตูต่อนัด


การทำประตู 2 ครั้ง

การทำประตู 1 ครั้ง

การทำเข้าประตูตัวเอง 1 ครั้ง

หมายเหตุ[แก้]

  1. CET (UTC+1) สำหรับรอบรองชนะเลิศ (24 มีนาคม), และ CEST (UTC+2) สำหรับรอบชิงชนะเลิศ (29 มีนาคม).
  2. แมตช์ระหว่าง สกอตแลนด์ พบ ยูเครน, ตามกำหนดเดิมจะเป็นวันที่ 24 มีนาคม ค.ศ. 2022, 20:45 (19:45 UTC±0), แต่ต้องเลื่อนไปเป็นเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2022 เนื่องจาก การรุกรานยูเครนของรัสเซีย.[9]
  3. รอบชิงชนะเลิศ สาย เอ, ตามกำหนดเดิมจะเป็นวันที่ 29 มีนาคม ค.ศ. 2022, 20:45, ถูกเลื่อนไปเป็นเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2022 เนื่องจากการเลื่อนของ สกอตแลนด์ พบ ยูเครน แมตช์รอบรองชนะเลิศ.[9][10]
  4. 4.0 4.1 4.2 4.3 รัสเซียถูกตัดสิทธิ์จากการแข่งขันสืบเนื่องจากการรุกรานยูเครนของรัสเซีย[12] ทำให้โปแลนด์ผ่านเข้าสู่รอบชิงชนะเลิศด้วยการชนะบาย[9]
  5. นัดรอบชิงชนะเลิศที่อาจจะเกิดขึ้นโดยประเทศโปแลนด์, เดิมทีกำหนดจะเล่นที่ Stadion Narodowy, วอร์ซอ, ต่อมาได้ย้ายเมื่อวันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2565 ไปที่ Stadion Śląski, Chorzów, due to the presence of a temporary hospital at the Stadion Narodowy.[14]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 "Game changer: group stage for UEFA Women's Champions League". UEFA.com. Union of European Football Associations. 4 December 2019. สืบค้นเมื่อ 4 December 2019.
  2. 2.0 2.1 2.2 "Regulatory articles for the 2020–2022 European qualifiers play-offs" (PDF). FIFA. 22 October 2020. สืบค้นเมื่อ 22 October 2020.
  3. "Overall ranking of the 2020/21 UEFA Nations League" (PDF). UEFA. 1 December 2020. สืบค้นเมื่อ 1 December 2020.
  4. "Regulations of the UEFA Nations League, 2020/21" (PDF). UEFA.com. Union of European Football Associations. 13 October 2019. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 November 2020. สืบค้นเมื่อ 13 October 2019.
  5. "2022 World Cup qualifying: all you need to know". UEFA.com. Union of European Football Associations. 9 December 2019. สืบค้นเมื่อ 5 January 2020.
  6. "2022 World Cup play-off draw: Scotland vs Ukraine, Wales vs Austria, Portugal vs Turkey". UEFA.com. Union of European Football Associations. 26 November 2021. สืบค้นเมื่อ 26 November 2021.
  7. "European Qualifiers 2020–22 – Play-offs" (PDF). UEFA.com. Union of European Football Associations. 26 November 2021. สืบค้นเมื่อ 26 November 2021.
  8. "Wales vs. Austria". Union of European Football Associations. 24 March 2022. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-03-25. สืบค้นเมื่อ 24 March 2022.
  9. 9.0 9.1 9.2 "Decisions taken concerning FIFA World Cup Qatar 2022 qualifiers". FIFA. 8 March 2022. สืบค้นเมื่อ 8 March 2022.
  10. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Play-off Path A
  11. "Wales vs. Ukraine". Union of European Football Associations. 5 June 2022. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-06-05. สืบค้นเมื่อ 5 June 2022.
  12. "FIFA/UEFA suspend Russian clubs and national teams from all competitions". FIFA. 28 February 2022. สืบค้นเมื่อ 28 February 2022.
  13. "Sweden vs. Czech Republic". Union of European Football Associations. 24 March 2022. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-03-25. สืบค้นเมื่อ 24 March 2022.
  14. "Areny najbliższych domowych meczów reprezentacji Polski" [The stadiums of the upcoming home matches of the Polish national team]. Polish Football Association (ภาษาโปแลนด์). 19 January 2022. สืบค้นเมื่อ 28 January 2022.
  15. "Poland vs. Sweden". Union of European Football Associations. 29 March 2022. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-03-29. สืบค้นเมื่อ 29 March 2022.
  16. "Italy vs. North Macedonia". Union of European Football Associations. 24 March 2022. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-03-25. สืบค้นเมื่อ 24 March 2022.
  17. "Portugal vs. Turkey". Union of European Football Associations. 24 March 2022. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-06-16. สืบค้นเมื่อ 24 March 2022.
  18. "Portugal vs. North Macedonia". Union of European Football Associations. 29 March 2022. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-03-29. สืบค้นเมื่อ 29 March 2022.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]