พ.ศ. 2475
หน้าตา
ศตวรรษ: | |
---|---|
ปี: |
ปฏิทินสุริยคติไทย | 2475 |
ปฏิทินกริกอเรียน | 1932 MCMXXXII |
Ab urbe condita | 2685 |
ปฏิทินอาร์มีเนีย | 1381 ԹՎ ՌՅՁԱ |
ปฏิทินอัสซีเรีย | 6682 |
ปฏิทินบาไฮ | 88–89 |
ปฏิทินเบงกอล | 1339 |
ปฏิทินเบอร์เบอร์ | 2882 |
ปีในรัชกาลอังกฤษ | 21 Geo. 5 – 22 Geo. 5 |
พุทธศักราช | 2476 |
ปฏิทินพม่า | 1294 |
ปฏิทินไบแซนไทน์ | 7440–7441 |
ปฏิทินจีน | 辛未年 (มะแมธาตุโลหะ) 4628 หรือ 4568 — ถึง — 壬申年 (วอกธาตุน้ำ) 4629 หรือ 4569 |
ปฏิทินคอปติก | 1648–1649 |
ปฏิทินดิสคอร์เดีย | 3098 |
ปฏิทินเอธิโอเปีย | 1924–1925 |
ปฏิทินฮีบรู | 5692–5693 |
ปฏิทินฮินดู | |
- วิกรมสมวัต | 1988–1989 |
- ศกสมวัต | 1854–1855 |
- กลียุค | 5033–5034 |
ปฏิทินโฮโลซีน | 11932 |
ปฏิทินอิกโบ | 932–933 |
ปฏิทินอิหร่าน | 1310–1311 |
ปฏิทินอิสลาม | 1350–1351 |
ปฏิทินญี่ปุ่น | ศักราชโชวะ 7 (昭和7年) |
ปฏิทินจูเช | 21 |
ปฏิทินจูเลียน | กริกอเรียนลบ 13 วัน |
ปฏิทินเกาหลี | 4265 |
ปฏิทินหมินกั๋ว | ROC 21 民國21年 |
พุทธศักราช 2475 ตรงกับ
- คริสต์ศักราช 1932 (นับแบบใหม่) เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน หรือ 1 เมษายน ค.ศ. 1932 – 31 มีนาคม ค.ศ. 1933 (นับแบบเก่า)
- มหาศักราช 1854
- ปีวอก จัตวาศก จุลศักราช 1294 (วันที่ 16 เมษายน เป็นวันเถลิงศก)
(หากเป็นการนับศักราชแบบเดิม พ.ศ. 2475 เริ่มในวันที่ 1 เมษายน)
ผู้นำประเทศไทย
[แก้]- พระมหากษัตริย์: พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468 - 2 มีนาคม พ.ศ. 2478)
- เจ้าประเทศราช:
- เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่: เจ้าแก้วนวรัฐ (11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2454 - 3 มิถุนายน พ.ศ. 2482)
- เจ้าผู้ครองนครลำพูน: เจ้าจักรคำขจรศักดิ์ (11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2454 - 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2486)
- เจ้าประเทศราช:
- ประธานคณะกรรมการราษฎร - พระยามโนปกรณ์นิติธาดา (28 มิถุนายน พ.ศ. 2475–21 มิถุนายน พ.ศ. 2476)
ปฏิทิน
[แก้]เหตุการณ์
[แก้]เมษายน-กันยายน
[แก้]- 20 พฤษภาคม - อเมเลีย เอียร์ฮาร์ต ประสบความสำเร็จในการเป็นสตรีคนแรกที่บินข้ามมหาสมุทรแอตแลนติก โดยใช้เวลา 14 ชั่วโมง 54 นาที
- 24 มิถุนายน - การปฏิวัติสยาม: คณะราษฎรดำเนินการปฏิวัติยึดอำนาจจากกษัตริย์และเปลี่ยนแปลงการปกครอง จากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เป็นระบอบประชาธิปไตย
- 27 มิถุนายน - การปฏิวัติสยาม: พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงลงพระปรมาภิไธย พระราชทานรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว เรียกชื่อว่า พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475
- 28 มิถุนายน - แต่งตั้งพระยามโนปกรณ์นิติธาดา ให้ดำรงตำแหน่งประธานกรรมการราษฎร ถือได้ว่าเป็นนายกรัฐมนตรีคนแรกของประเทศไทย
- 30 กรกฎาคม - พิธีเปิดกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน ณ ลอสแอนเจลิส
- 23 กันยายน - สถาปนาราชอาณาจักรซาอุดีอาระเบีย โดยมีริยาดเป็นเมืองหลวง
ตุลาคม-มีนาคม
[แก้]- 3 ตุลาคม - อิรักได้รับเอกราชจากอังกฤษ
- 5 มกราคม (ค.ศ. 1933) - สหรัฐเริ่มก่อสร้างสะพานโกลเดนเกต ณ อ่าวซานฟรานซิสโก
- 21 มีนาคม (ค.ศ. 1933) - ค่ายกักกันดาเคาซึ่งเป็นค่ายกักกันแห่งแรกของนาซีเยอรมนี ก่อสร้างเสร็จ
ไม่ทราบวัน
[แก้]- เจมส์ แชดวิก นักฟิสิกส์ชาวอังกฤษ ค้นพบนิวตรอน
- 34 ชาติ ร่วมกันสำรวจขั้วโลกในปีขั้วโลกสากล (International Polar Year) ครั้งที่ 2
วันสำคัญทางศาสนาและพิธีกรรม
[แก้]- 13-15 เมษายน - สงกรานต์
- 19 พฤษภาคม - วันวิสาขบูชา
- 17 กรกฎาคม - วันอาสาฬหบูชา
- 18 กรกฎาคม - วันเข้าพรรษา
- 16 สิงหาคม - วันสารทจีน
- 15 กันยายน - วันไหว้พระจันทร์
- 14 ตุลาคม - วันออกพรรษา
- 12 พฤศจิกายน - วันลอยกระทง
- 25 ธันวาคม - คริสต์มาส
- 26 มกราคม (ค.ศ. 1933) - วันตรุษจีน
- 9 กุมภาพันธ์ (ค.ศ. 1933) - วันมาฆบูชา
ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์
[แก้]- 1 กันยายน - สุริยุปราคาเต็มดวง (มหาสมุทรอาร์กติก ตอนเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ และตะวันตกเฉียงเหนือของมหาสมุทรแอตแลนติก)
- 14/15 กันยายน - จันทรุปราคาบางส่วน มองเห็นได้ในประเทศไทย
- 24 กุมภาพันธ์ (ค.ศ. 1933) - สุริยุปราคาวงแหวน (ตอนใต้ของทวีปอเมริกาใต้ ตอนใต้ของมหาสมุทรแอตแลนติก และตอนกลางของทวีปแอฟริกา)
วันเกิด
[แก้]- 5 มกราคม - อุมแบร์โต เอโก นักเขียนชาวอิตาลี (ถึงแก่กรรม 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559)
- 5 กุมภาพันธ์ - เชซาเร มัลดีนี นักฟุตบอลและผู้จัดการทีมฟุตบอลชาวอิตาลี (ถึงแก่กรรม 3 เมษายน พ.ศ. 2559)
- 12 กุมภาพันธ์ - เจ้าหญิงอัสตริดแห่งนอร์เวย์
- 4 เมษายน - แอนโทนี เพอร์คินส์ นักแสดงชาวอเมริกัน (ถึงแก่กรรม 12 กันยายน พ.ศ. 2535)
- 5 เมษายน - อดุลย์ ดุลยรัตน์ นักแสดงและผู้กำกับภาพยนตร์ชาวไทย (ถึงแก่กรรม 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2559)
- 8 เมษายน - สมเด็จพระราชาธิบดีอิสกันดาร์ ยังดี เปอร์ตวน อากง พระองค์ที่ 9 แห่งมาเลเซีย (สวรรคต 22 มกราคม พ.ศ. 2553)
- 28 เมษายน - สกุล ศรีพรหม รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครราชสีมา (ถึงแก่กรรม 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2547)
- 9 พฤษภาคม - เจ้าหญิงมาร์การิตาแห่งไลนิงเงิน (สิ้นพระชนม์ 16 มิถุนายน 2539)
- 15 พฤษภาคม - พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ อดีตนายกรัฐมนตรีไทย
- 5 กรกฎาคม - ยูลอ โฮร์น นักการเมืองชาวฮังการี (ถึงแก่กรรม 19 มิถุนายน พ.ศ. 2556)
- 9 กรกฎาคม - ดอนัลด์ รัมส์เฟลด์ นักการเมืองชาวอเมริกา
- 9 สิงหาคม - อานันท์ ปันยารชุน อดีตนายกรัฐมนตรีไทยและผู้ได้รับรางวัลแมกไซไซ
- 12 สิงหาคม - สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง
- 19 สิงหาคม - บรรหาร ศิลปอาชา นายกรัฐมนตรีคนที่ 21 แห่งราชอาณาจักรไทย (ถึงแก่กรรม 23 เมษายน พ.ศ. 2559)
- 27 พฤศจิกายน - เบนิกโน อากีโน จูเนียร์ วุฒิสมาชิกชาวฟิลิปปินส์ (ถึงแก่กรรมจากการสังหารเมื่อวันที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2526)
- 29 พฤศจิกายน - ฌัก ชีรัก นักการเมืองชาวฝรั่งเศส (ถึงแก่กรรม 26 กันยายน พ.ศ. 2562)
- 7 ธันวาคม - เอลเลน เบอร์สติน นักแสดงชาวอเมริกัน
วันถึงแก่กรรม
[แก้]- 4 เมษายน - วิลเฮล์ม ออสวอลด์ นักเคมีชาวเยอรมัน ได้รับรางวัลโนเบลสาขาเคมีในปี พ.ศ. 2452 (เกิด พ.ศ. 2396)
รางวัล
[แก้]- สาขาเคมี – เออร์วิง แลงมิวร์
- สาขาวรรณกรรม – จอห์น กอลส์เวอร์ธี
- สาขาสันติภาพ – ไม่มีการมอบรางวัล
- สาขาฟิสิกส์ – เวอร์เนอร์ คาร์ล ไฮเซนเบอร์ก
- สาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ – ชาลส์ สก็อต เชอร์ริงตัน, เอ็ดการ์ ดักลาส เอเดรียน