ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความทรงจำแห่งโลก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Adisorn1234 (คุย | ส่วนร่วม)
Adisorn1234 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 55: บรรทัด 55:
|}
|}


==ความทรงดำแห่งโลกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้==
==รายชื่อความทรงดำแห่งโลกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้==

=== {{flag|กัมพูชา}} ===

{|class="wikitable sortable"
! style="width:20%;" scope="col" | ชื่อภาษาไทย
! style="width:23%;" scope="col" | ชื่อภาษาอังกฤษ
! style="width:100px;" class="unsortable" scope="col"| ภาพ
! style="width:9%;" scope="col" | ปีที่ยอมรับ
! class="unsortable" scope="col" | คำอธิบาย
|-
| <center>'''พิพิธภัณฑ์หอจดหมายเหตุการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์'''</center>
| <center>Tuol Sleng Genocide Museum Archives</center>
| [[ไฟล์:Tuol Sleng.jpg|120px]]
| <center>2009<center>
|
|}

=== {{flag|อินโดนีเซีย}} ===

{|class="wikitable sortable"
! style="width:20%;" scope="col" | ชื่อภาษาไทย
! style="width:23%;" scope="col" | ชื่อภาษาอังกฤษ
! style="width:100px;" class="unsortable" scope="col"| ภาพ
! style="width:9%;" scope="col" | ปีที่ยอมรับ
! class="unsortable" scope="col" | คำอธิบาย
|-
| <center>'''จดหมายเหตุบริษัทอินเดียตะวันตกของชาวดัตช์'''</center>
| <center>Archives of the [[Dutch East India Company]]</center>
| [[ไฟล์:Voc.jpg|120px]]
| <center>2003<center>
|
|-
| <center>'''บันทึกซูเร็คกาลิโก้'''</center>
| <center>Sureq Galigo</center>
| [[ไฟล์:La galigo.jpg|120px]]
| <center>2011<center>
|
|-
| <center>'''บันทึกนากาเรคราตากามา'''</center>
| <center>Nagarakretagama</center>
| [[ไฟล์:Majapahit Empire.svg|120px]]
| <center>2013</center>
|
|-
| <center>'''จดหมายเหตุดิโปเนโกโร่'''</center>
| <center>Babad Diponegoro</center>
|
[[ไฟล์:Diponegoro.jpg|120px]]
| <center>2013</center>
|
|}


===ประเทศไทย===
===ประเทศไทย===

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:51, 1 สิงหาคม 2559

ความทรงจำแห่งโลก[1] (อังกฤษ: Memory of the World, ฝรั่งเศส: Mémoire du monde) คือแผนงานที่องค์การศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ หรือยูเนสโก กำหนดขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2535 (ค.ศ. 1992) เพื่อมีวัตถุประสงค์เพื่อการอนุรักษ์ และการเผยแพร่มรดกภูมิปัญญาของโลกที่บันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร ไม่ว่าจะเป็นการบันทึกไว้ในรูปแบบใดหรือของประเทศใดก็ตาม ถือว่าเป็นแหล่งรวมความคิด ความรู้ ประสบการณ์ ที่สามารถสะท้อนให้เห็นถึงความหลากหลายทั้งในด้านของวัฒนธรรม จากสังคมในอดีตให้แก่สังคมปัจจุบัน และเพื่อที่จะสืบสานส่งต่อให้แก่สังคมในอนาคต

วัตถุประสงค์

  1. เพื่ออำนวยความสะดวกในการอนุรักษ์โดยกรรมวิธีที่เหมาะสมที่สุด
  2. เพื่อช่วยเหลือให้มีการเผยแพร่เอกสารมรดกอย่างกว้างขวางที่สุด
  3. เพื่อเผยแพร่ความตระหนักในความสำคัญของเอกสารมรดกอย่างกว้างขวางทั่วโลก

หลักเกณฑ์ในการคัดเลือก

หลักเกณฑ์ในการคัดเลือกเอกสารมรดก ดังต่อไปนี้ ใช้ได้ในการคัดเลือกเอกสารมรดกที่มีคุณค่าต่อประเทศ ต่อภูมิภาค และต่อโลก [2]

  1. หลักเกณฑ์ที่ 1 ความเป็นของแท้ (Authenticity)
  2. หลักเกณฑ์ที่ 2 มีความโดดเด่นและไม่อาจทดแทนได้ (Unique and Irriplaceable)
  3. หลักเกณฑ์ที่ 3 มีความสำคัญในระดับโลก ในเรื่องเวลาและอายุ (Time) สถานที่ (Place) บุคคล (People) เนื้อหาสาระแนวคิด (Subject and Theme) และ รูปแบบและวิธีเขียน (Form and Style)
  4. หลักเกณฑ์ที่ 4 ลักษณะอื่นๆ ได้แก่ ความหายาก (Rarity) ความบริบูรณ์ (Integrity) ความเสี่ยง (Threat) และโครงการบริหารจัดการ (Management plan)

สถิติ

ภูมิภาค จำนวนที่ได้รับขึ้นทะเบียน จำนวนประเทศ/องค์กร
แอฟริกา 14 9
รัฐอาหรับ 9 5
เอเชียแปซิฟิก 80 24
ยุโรปและอเมริกาเหนือ 181 39
ละตินอเมริกาและแคริบเบียน 67 25
องค์กรระหว่างประเทศ 4 4
มูลนิธิเอกชน 1 1
รวม 301 107

รายชื่อความทรงดำแห่งโลกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

 กัมพูชา

ชื่อภาษาไทย ชื่อภาษาอังกฤษ ภาพ ปีที่ยอมรับ คำอธิบาย
พิพิธภัณฑ์หอจดหมายเหตุการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์
Tuol Sleng Genocide Museum Archives
2009

 อินโดนีเซีย

ชื่อภาษาไทย ชื่อภาษาอังกฤษ ภาพ ปีที่ยอมรับ คำอธิบาย
จดหมายเหตุบริษัทอินเดียตะวันตกของชาวดัตช์
Archives of the Dutch East India Company
2003
บันทึกซูเร็คกาลิโก้
Sureq Galigo
2011
บันทึกนากาเรคราตากามา
Nagarakretagama
2013
จดหมายเหตุดิโปเนโกโร่
Babad Diponegoro

2013

ประเทศไทย

สิ่งที่ได้รับขึ้นทะเบียนแล้ว

อ้างอิง

  1. แผนงานความทรงจำแห่งโลก
  2. http://mow.thai.net/index.php?option=com_content&task=view&id=20&Itemid=38 หลักเกณฑ์ในการคัดเลือกเอกสารมรดก

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น