ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วุฒิสภา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
SilvonenBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: ko:원로원
Portalian (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{รวม|สภาสูง}}
'''วุฒิสภา''' เป็นหน่วยหนึ่งในกระบวนการ[[นิติบัญญัติ]] โดยทั่วไปมักเป็น[[สภาสูง]]ใน[[ระบบสภาคู่]] วุฒิสภาดั้งเดิมนั้นคือ[[วุฒิสภาโรมัน]]
'''วุฒิสภา''' เป็นหน่วยหนึ่งในกระบวนการ[[นิติบัญญัติ]] โดยทั่วไปมักเป็น[[สภาสูง]]ใน[[ระบบสภาคู่]] วุฒิสภาดั้งเดิมนั้นคือ[[วุฒิสภาโรมัน]]

== ภาพรวม ==



== ความหมายอื่น ==
== ความหมายอื่น ==
บรรทัด 71: บรรทัด 66:
* [[สภาสูง]]
* [[สภาสูง]]
* [[วุฒิสภาไทย]]
* [[วุฒิสภาไทย]]
{{โครงการเมือง}}


[[หมวดหมู่:รัฐสภา]]
[[หมวดหมู่:รัฐสภา]]
{{โครงการเมือง}}


[[ar:مجلس الشيوخ]]
[[ar:مجلس الشيوخ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 05:19, 11 พฤศจิกายน 2553

วุฒิสภา เป็นหน่วยหนึ่งในกระบวนการนิติบัญญัติ โดยทั่วไปมักเป็นสภาสูงในระบบสภาคู่ วุฒิสภาดั้งเดิมนั้นคือวุฒิสภาโรมัน

ความหมายอื่น

คำว่าวุฒิสภาหรือวุฒิสมาชิกนั้นอาจไม่จำเป็นที่จะต้องหมายถึงสภาสูงในระบบสภาคู่ของฝ่ายนิติบัญญัติแต่อย่างใด

  • ในฟินแลนด์ สมัยเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิรัสเซีย วุฒิสภาแห่งฟินแลนด์เคยเป็นส่วนหนึ่งของฝ่ายบริหารและฝ่ายตุลาการจนกระทั่ง ค.ศ. 1919
  • ในประเทศเยอรมนี รัฐแห่งเยอรมัน (เยอรมัน: Bundesländer) สามรัฐอันได้แก่ เบอร์ลิน, เบรเมน และ ฮัมบูร์ก จะมีวุฒิสภา (เยอรมัน: Senat) ซึ่งต่างเป็นส่วนหนึ่งของฝ่าบริหาร อันประกอบด้วยวุฒิสมาชิก (เยอรมัน: Senator) ที่ต่างก็เป็นผู้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีในรัฐของตน นอกจากนี้ องค์คณะของผู้พิพากษา 5 คนในศาลอุทธรณ์ชั้นสูง (อังกฤษ: higher court of appeal]] ที่ทำหน้าที่ดำเนินกระบวนพิจารณาและวินิจฉัยคดีต่างได้รับการเรียกว่า "วุฒิสมาชิก" แม้ว่าผู้พิพากษาทั่วไปจะไม่ได้รับการเรียกเช่นนั้นก็ตาม อย่างไรก็ดี ในดินแดนบาวาเรียเคยมีวุฒิสภาเป็นสภาสูงมาก่อนก่อนถูกเลิกล้มไปในค.ศ. 1999 แล้วก็ตาม
  • ในสกอตแลนด์ ผู้พิพากษาศาลสูงแห่งกระบวนยุติธรรม (อังกฤษ: High Court of Justiciary) ซึ่งเป็นศาลสูงสุดในวิธีพิจารณาทางอาญาของสกอตแลนด์ จะมีชื่อว่า วุฒิสมาชิกแห่งวิทยาลัยยุติธรรม (อังกฤษ: Senators of the College of Justice)

ความหมายในประเทศไทย

ในการกลั่นกรองกฎหมาย ควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน โดยการตั้งกระทู้ถามรัฐมนตรี หรือเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อให้คณะรัฐมนตรีแถลงข้อเท็จจริงหรือชี้แจงปัญหาโดยไม่มีการลงมติ นอกจากนี้ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พุทธศักราช 2540) ยังได้บัญญัติให้วุฒิสภามีอำนาจหน้าที่โดยเฉพาะอีกหลายประการ คือ การพิจารณาเลือก แต่งตั้ง ให้คำแนะนำ หรือให้ความเห็นชอบให้บุคคลดำรงตำแหน่งต่าง ๆ

วุฒิสภาแห่งชาติในโลก

ดูเพิ่ม