ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไทยโพสต์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 22: บรรทัด 22:
}}
}}


'''ไทยโพสต์''' (Thaipost) เป็น[[หนังสือพิมพ์]]รายวันฉบับ[[ภาษาไทย]] ซึ่งตีพิมพ์จำหน่ายใน[[ประเทศไทย]] เสนอข่าวทั่วไป เน้นข่าวการเมือง มีคำขวัญว่า “อิสรภาพแห่งความคิด” ออกวางจำหน่ายปฐมฤกษ์เมื่อวันที่ [[21 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2539]] โดยมี [[โรจน์ งามแม้น]] ([[นามปากกา]]: เปลว สีเงิน) เป็นผู้บริหาร และ[[บรรณาธิการ]]บริหาร ที่ยกทีมกองบรรณาธิการชุดเดิม มาจากหนังสือพิมพ์[[สยามโพสต์]] เนื่องจากเกิดความขัดแย้งกับเครือ[[บางกอกโพสต์]] ที่เป็นเจ้าของสยามโพสต์ ร่วมด้วย [[ทวีสิน สถิตย์รัตนชีวิน]] (นามปากกา: อ้วน อรชร) ผู้บริหาร และบรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา<ref> [http://scontent.fbkk2-2.fna.fbcdn.net/v/t1.0-9/fr/cp0/e15/q65/21369490_1803990626297293_7061366130786093328_n.jpg?oh=75afa2a7fe284cb1ee3fe6fedfb314b6&oe=5A846A24 หน้าปก ไทยโพสต์ หน้า 1]</ref>
'''ไทยโพสต์''' [[หนังสือพิมพ์]][[ภาษาไทย]]รายวัน เสนอข่าวทั่วไป ออกฉบับปฐมฤกษ์เมื่อวันที่ [[21 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2539]] โดยมี [[โรจน์ งามแม้น]] ([[นามปากกา]]: เปลว สีเงิน) เป็นผู้บริหาร และ[[บรรณาธิการ]]บริหาร ที่ยกทีมกองบรรณาธิการชุดเดิม มาจากหนังสือพิมพ์[[สยามโพสต์]] เนื่องจากเกิดความขัดแย้งกับเครือ[[บางกอกโพสต์]] ที่เป็นเจ้าของสยามโพสต์ ร่วมด้วย [[ทวีสิน สถิตย์รัตนชีวิน]] (นามปากกา: อ้วน อรชร) ผู้บริหาร และบรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา




ในช่วง[[วิกฤตการณ์การเมืองในประเทศไทย พ.ศ. 2548-2550]] ไทยโพสต์ถูกกดดันให้ขายได้โดยตรงกับสมาชิกเท่านั้น {{อ้างอิง}} แต่ปัจจุบัน สามารถกลับมาวางแผงขายได้ตามปกติ
ในช่วง[[วิกฤตการณ์การเมืองในประเทศไทย พ.ศ. 2548-2550]] ไทยโพสต์ถูกกดดันให้ขายได้โดยตรงกับสมาชิกเท่านั้น {{อ้างอิง}} แต่ปัจจุบัน สามารถกลับมาวางแผงขายได้ตามปกติ


ไทยโพสต์จะมีฉบับพิเศษ ขนาด[[แทบลอยด์]] แทรกอยู่ในฉบับ เสนอข่าวสีสัน แต่เป็นประโยชน์ต่อผู้อ่าน ใช้ชื่อ “เอ็กซ์-ไซท์ ไทยโพสต์” (X-Cite Thaipost)<ref>[http://scontent.fbkk2-2.fna.fbcdn.net/v/t31.0-8/fr/cp0/e15/q65/21167468_1797220440307645_164060024041353352_o.jpg?oh=e0b21e874408e581851146164707f445&oe=5A726B36 หน้าปก เอ็กซ์-ไซท์ ไทยโพสต์]</ref> ในฉบับ[[วันจันทร์]]-[[วันเสาร์]] และฉบับ[[วันอาทิตย์]]ใช้ชื่อ “ไทยโพสต์ แทบลอยด์” (Thaipost Tabloid) [[เปลว สีเงิน|ใ]]นรูปแบบ[[นิตยสาร]]รายสัปดาห์<ref>[http://scontent.fbkk2-2.fna.fbcdn.net/v/t1.0-9/fr/cp0/e15/q65/21034232_1792227714140251_4449087804173615165_n.jpg?oh=9f49cbc6c88396dc9cde8c3744ba0d9c&oe=5A80A326 หน้าปก ไทยโพสต์ แทบลอยด์]</ref>
ไทยโพสต์จะมีฉบับพิเศษ ขนาด[[แทบลอยด์]] แทรกอยู่ในฉบับ เสนอข่าวสีสัน แต่เป็นประโยชน์ต่อผู้อ่าน ใช้ชื่อ “เอ็กซ์-ไซท์ ไทยโพสต์” (X-Cite Thaipost) ในฉบับ[[วันจันทร์]]-[[วันเสาร์]] และฉบับ[[วันอาทิตย์]]ใช้ชื่อ “ไทยโพสต์ แทบลอยด์” (Thaipost Tabloid) [[เปลว สีเงิน|ใ]]นรูปแบบ[[นิตยสาร]]รายสัปดาห์


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:50, 16 สิงหาคม 2563

ไทยโพสต์
อิสรภาพแห่งความคิด
ประเภทหนังสือพิมพ์รายวัน
รูปแบบหนังสือพิมพ์ผู้นำ
(Elite Newspaper)
เจ้าของบริษัท สารสู่อนาคต จำกัด
บริษัท หนังสือพิมพ์ไทยโพสต์ จำกัด
บริษัท ไทยเจอร์นัลกรุ๊ป จำกัด
บรรณาธิการบริหารโรจน์ งามแม้น
(ในยุคสยามโพสต์)
คอลัมนิสต์เปลว สีเงิน
ก่อตั้งเมื่อ21 ตุลาคม พ.ศ. 2539 (27 ปี)
ภาษาภาษาไทย
สำนักงานใหญ่เลขที่ 1850-1862 ถนนเกษมราษฎร์ แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร
เว็บไซต์www.thaipost.net

ไทยโพสต์ หนังสือพิมพ์ภาษาไทยรายวัน เสนอข่าวทั่วไป ออกฉบับปฐมฤกษ์เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2539 โดยมี โรจน์ งามแม้น (นามปากกา: เปลว สีเงิน) เป็นผู้บริหาร และบรรณาธิการบริหาร ที่ยกทีมกองบรรณาธิการชุดเดิม มาจากหนังสือพิมพ์สยามโพสต์ เนื่องจากเกิดความขัดแย้งกับเครือบางกอกโพสต์ ที่เป็นเจ้าของสยามโพสต์ ร่วมด้วย ทวีสิน สถิตย์รัตนชีวิน (นามปากกา: อ้วน อรชร) ผู้บริหาร และบรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา


ในช่วงวิกฤตการณ์การเมืองในประเทศไทย พ.ศ. 2548-2550 ไทยโพสต์ถูกกดดันให้ขายได้โดยตรงกับสมาชิกเท่านั้น [ต้องการอ้างอิง] แต่ปัจจุบัน สามารถกลับมาวางแผงขายได้ตามปกติ

ไทยโพสต์จะมีฉบับพิเศษ ขนาดแทบลอยด์ แทรกอยู่ในฉบับ เสนอข่าวสีสัน แต่เป็นประโยชน์ต่อผู้อ่าน ใช้ชื่อ “เอ็กซ์-ไซท์ ไทยโพสต์” (X-Cite Thaipost) ในฉบับวันจันทร์-วันเสาร์ และฉบับวันอาทิตย์ใช้ชื่อ “ไทยโพสต์ แทบลอยด์” (Thaipost Tabloid) นรูปแบบนิตยสารรายสัปดาห์

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น