ผู้ใช้:Chainwit./เก็บกวาด: เดอะโปรเจ็กต์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ค่อย ๆ ทำ สาธุ

บทความภูฏาน[แก้]

  1. ภาษาของภูฏานคือ ภาษา Dzongkha ซึ่งใช้อักษรทิเบต ภาษานี้ไม่ใช่ภาษาทิเบต และมีการออกเสียงที่ต่างกันกับภาษาทิเบตมาตรฐานซึ่งคุณ Phyblas ได้กรุณาเขียนคู่มือการทับศัพท์ไว้ให้แล้ว
  2. บทความบน enwiki เกี่ยวกับภูฏาน บ่อยครั้งใช้แม่แบบ bo (สำหรับอักษรทิเบต) รวมถึงใช้ระบบ Wylie ประกอบ
  3. ยังไม่เจอตารางเทียบเสียง / IPA / phonetics จาก Dzongkha เท่าที่หาเจอ
  4. ท้ายที่สุดเลยตัดสินใจใช้การทับศัพท์ตามภาษาทิเบตมาตรฐาน ตามที่กล่าวไปข้างต้น แทน
ตัวอย่าง

ชื่อ ทิเบต: འབྲུག་རྒྱལ་པོ་ འཇིགས་མེད་རྡོ་རྗེ་དབང་ཕྱུག་མཆོག་ ซึ่งคือชื่อของ Jigme Dorji Wangchuck กษัตริย์ภูฏานคนที่สาม ประเด็นคือชื่อนี้มีคำเถลิงยศนำหน้า (ทิเบต: འབྲུག་རྒྱལ་པོ་) ด้วยความที่อ่านไม่ออก ไม่รู้อันไหนเป็นอะไร เดี๋ยวทับเกินหรือขาด เลยเอาไปผ่าน Aksharamukha ให้แปลงเป็น Roman ใด ๆ (ในตัวอย่างนี้ใช้ IAST) ซึ่งสองส่วนของวลีนี้ได้ออกมาเป็น abruga rgyala po ในก้อนแรก (ซึ่งตรงกับ druk gyalpo เป็นคำเรียกกษัตริย์ภูฏาน เหมือนสุลต่าน) และ ajigasa meda rdo rje dabaṅa phyuga machoga ในก้อนสอง จึงอนุมานว่าเสียง a ที่นำหน้า น่าจะไม่เกี่ยวข้องในการทับศัพท์ชื่อ เราจึงเลือกพิจารณาต่อแค่ก้อนหลัง ซึ่งเป็นชื่ออย่างเดียว

ในตัวอย่างนี้เราพบว่าชื่ออักษรทิเบตที่ได้มา แม้จะตัดคำนำหน้า (druk gyalpo) แล้ว ก้อนหลังมีความยาวกว่าชื่อทั่วไปที่ใช้ คัดออกมาเพียงบางพยางค์ที่ใช้ (Jigme Dorji Wangchuck - ซึ่งคือ 6 พยางค์) ในที่นี้จึงทำการเดาเทียบ โดยได้ว่า jigasa meda rdo rje (ตรงกับอักษรทิเบต: ཇིགས་ - མེད་ - རྡོ་ - རྗེ་ - དབང་) [ตัว ་ ที่ต่อท้ายเป็นเหมือนตัวสิ้นสุดพยางค์] น่าจะตรงกับชื่อรูปอักษรโรมัน jig me dor ji ตามลำด้บ และ Wangchuk ตรงกับ dabaṅa phyuga (དབང་ཕྱུག་) ท้ายที่สุด མཆོག་ (machoga) เป็นไปได้ว่าเป็นคำสรรเสริญลงท้ายชื่อ ในลักษณะเดียวกับ -จี ในชื่อของอินเดีย จึงไม่ได้นำมาแปลงต่อ

โดยสรุป ตัวอย่างนี้เราได้รูป สำหรับการนำไปถอดต่อไป ซึ่งเมื่อเทียบไปตามตารางของคุณ Phyblas จึงได้ชื่อ (เว้นวรรค์ตามการแบ่งพยางค์ตามอักษรทิเบต) ว่า ชิก เม (แม้ མེད จะแปลงตาม Wylie เป็น med ซึ่ง d มาจาก ད แต่ในตารางทับศัพม์ปรากฏวรรณยุกต์ เอ กับ ད ออกเสียงเป็น เอ ตามปกติ) โต เจ วัง ชุก -- พอนำมาเว้นวรรคตามชื่อบน enwiki แล้ว จึงได้ว่า --> ชิกเม โตเจ วังชุก

ข้อสังเกต: คนไทยน่าจะติด jigme = จิกมี กันมายาวนาน พอเดาได้ว่าเป็นการออกเสียงแบบอังกฤษ (e อ่านเป็น อี คำอย่าง café ถึงได้ต้อง é เพื่อให้ออกว่า คาเฟ) และวิกิพีเดียภาษาไทยก็คงใช้ตามสื่อเรื่อยมา

Project महा केप् क्वात् बद् ग्वाम् हिन्दु[แก้]

หลัก
  • ทับศัพท์ตามหลักถูกจริง
  • อ้างอิงสากลสวยงาม
  • ไม่ใช้คำนำหน้านามพร่ำเพรื่อ

ลิสต์แปลใหม่[แก้]

probably more here[แก้]

create a new one i supposed[แก้]

DONE![แก้]

Those marked in bold had their contents remarkably changed. Initial mistranslation likely. (เป็นไปได้ไหมว่าพูดถึงคนละเรื่องกันเลย เช่น กรณี โยคมายากับพิธีสตี) ((ถ้าว่างก็ไปลองหา source มา verify เนื้อหาเก่านั้น))

อินเดีย-รีเลตเต็ด[แก้]

ไทย-รีเลตเต็ด[แก้]

พระทรงเมือง, จิตรคุปต์

Proposal: การเขียนบทความศาสนาฮินดู[แก้]

  1. ใช้คำว่า "พระ" นำหน้านามเพียงคำเดียว เช่น พระลักษมี ไม่ใช้คำอื่น (เช้น เจ้าพ่อ เจ้าแม่ พระแม่ แม่พระ เจ้านาง)
  2. สรรพนามเรียกในบทความอาจใช้คำว่า พระนาง, พระองค์ หากเลือกได้ให้เรียกพระนามไปเลย
  3. ราชาศัพท์แล้วแต่ความเหมาะสม อาจจะใช้หรือไม่ใช้ก็ได้
  4. เทพเจ้าท้องถิ่นไม่ใช่เทพารักษ์ ไม่ใช่ครามเทวดา ไม่ใช่กุลเทวดา หากไม่มีอ้างอิงยืนยันว่าเทพเจ้านั้น ๆ มีพัฒนาการมาจากการเป็นเทพารักษ์ ก็ไม่ใช้
  5. การลิงค์ไปบทความ บูชา (ศาสนาฮินดู) จะใช้ในบริบทที่พุ่งเป้าหมายถึงการประกอบพิธี เช่น "เมื่อเสร็จสิ้นการถือพรต จะประกอบพิธีบูชาพระ..." ใช้ได้ แต่ "เป็นเทพเจ้าที่มีการบูชามากในแถบอินเดียเหนือ" ไม่ใช้
  6. ขึ้นต้นบทความด้วยประโยคลักษณะเช่นนี้ "...เป็นเทวีในศาสนาฮินดู" หรือ "...เป็นเทพเจ้าในศาสนาฮินดู"
  7. ไม่ใช้คำว่า "พราหมณ์-ฮินดู" ยกเว้นเป็นเนื้อหาเกี่ยวกับศาสนาฮินดูในไทย เพราะคำนี้เป็นคำที่ใช้เป็นหลักในวรรณกรรมของไทย
  8. อ้างอิงเนื้อหาในไทย (เช่นความเทียบเท่าเทพพื้นเมืองไทย, ประติมานวิทยาเหมือนเพทท้องถิ่นไทย) ใช้อ้างอิงวิชาการเท่านั้น

หลักการเกี่ยวกับโบสถ์พราหมณ์[แก้]

  1. การลิงค์ไปบทความโบสถ์พราหมณ์ จะทำเมื่อหมายถึงโบสถ์พราหมณ์ในภาพรวม ในกรณีที่เป็นส่วนหนึ่งของชื่อสถานที่เฉพาะ เช่น มาริอัมมันโกยิล จะไม่ลิงค์แยกเป็น "มาริอัมมัน" กับ "โบสถ์พราหมณ์|โกยิล"
  2. หากมีสถานที่ชัดเจน ให้เลือกใช้คำตามภาษาราชการของท้องที่นั้น โดยทั่วไปคือ
    1. มนเทียร - อินเดียเหนือ มหาราษฏระ ราชสถาน เนปาล (*ย้ำว่าสะกด "มนเทียร" ตามอักษรเทวนาครีร่วมสมัย ไม่ใช่ "มณเฑียร")
    2. เทวาลัย/เทวาลยัม - เตลังคานา
    3. โกยิล/โกวิล - ทมิฬ
    4. เทวสถาน/เทวสถานัม - อินเดียใต้อื่น ๆ เช่น โอฑิศา
    5. บางที่พิเศษใช้ "เกษตร/เกษตรัง" หรือ "เทวสถาน" ตามชื่อบน enwiki / wiki ภาษานั้น ๆ เช่น จตุรศรึงคีเทวสถาน อยู่ในปูเณ ใช้มราฐี แต่ชื่อทางการบน mrwiki ใช้คำว่าเทวสถาน

พิเศษ:บทความที่โยงมา/แม่แบบ:กล่องข้อมูล_เซนต์เซย่า[แก้]