บูมเมอแรง (สถานีโทรทัศน์)

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

นี่เป็นเพียงบูมเมอแรงข้อมูลศูนย์กลาง สำหรับช่องบูมเมอแรงในประเทศไทยดูที่ บูมเมอแรง ไทย (สถานีโทรทัศน์) บูมเมอแรงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ดูที่ บูมเมอแรง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

บูมเมอแรง
Boomerang
ประเทศสหรัฐ
พื้นที่แพร่ภาพทั่วโลก (เปลี่ยนเป็นชื่อ การ์ตูนิโต้ เฉพาะบางภูมิภาค)
เครือข่ายการ์ตูนเน็ตเวิร์ค (2535–2542)
สำนักงานใหญ่
แบบรายการ
ภาษา
  • อังกฤษ
  • สเปน
ระบบภาพ480i (SDTV)
ความเป็นเจ้าของ
เจ้าของระบบแพร่สัญญาณเทอร์เนอร์
ช่องรอง
ประวัติ
เริ่มออกอากาศ1 เมษายน พ.ศ. 2543 (24 ปี)
ชื่อเดิมบูมเมอแรงจากการ์ตูนเน็ตเวิร์ค (2543–2558)
ลิงก์
เว็บไซต์www.boomerang.com

บูมเมอแรง (Boomerang) เป็นสถานีโทรทัศน์การ์ตูนของระบบแพร่สัญญาณเทอร์เนอร์ ในเครือของ ไทม์ วอร์เนอร์ เป็นช่องการ์ตูนที่แยกออกมากจากช่อง การ์ตูนเน็ตเวิร์ค ฉายการ์ตูนคลาสิกที่เคยฉายทางการ์ตูนเน็ทเวิร์คนำกลับมาฉาย อาทิเช่น ลูนี่ย์ตูน ป๊อปอาย ฟริ้นสโตน แจ็คสัน สกูปี้-ดู บูมเมอแรงได้เริ่มต้นแพร่ภาพเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2543 มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา และมีสถานีเครือข่ายภูมิภาคเผยแพร่ไปในประเทศต่างๆ ทั่วโลก

ประวัติบูมเมอแรง[แก้]

ในอดีต ช่องการ์ตูนเน็ตเวิร์ค เคยฉายการ์ตูนคลาสิกในยุค 60 - 90 เหมือนที่ช่องบูมเมอแรงฉายในปัจจุบัน แต่ในปัจจุบัน การ์ตูนเน็ตเวิร์กได้นำการ์ตูนแอนิเมชั่นใหม่ ๆ เข้ามาฉาย จึงได้ตัดการ์ตูนคลาสสิกเก่า ๆ ออก แต่การ์ตูนคลาสิกยังคงได้รับความนิยมจากผู้ชม จึงได้เพิ่มช่วง บูมเมอแรง เป็นช่วงพิเศษในช่องการ์ตูนเน็ตเวิร์ก ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2535 - พ.ศ. 2542 ซึ่งฉายการ์ตูนคลาสิกเก่า ๆ แต่เนื่องจากการ์ตูนนั้นมีมากมายหลายเรื่อง ไทม์ วอร์เนอร์ จึงเปิดช่องบูมเมอแรงเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2543 โดยนำช่วงพิเศษบูมเมอแรงในการ์ตูนเน็ตเวิร์กออกมาทำเป็นสถานีโทรทัศน์ช่องการ์ตูนช่องใหม่อย่างเต็มรูปแบบ

การ์ตูนที่ฉายในบูมเมอแรง[แก้]

การ์ตูนที่ฉายมางบูมเมอแรงนั้น มีมากมายหลายเรื่องจากหลายค่ายผู้ผลิต รายชื่อการ์ตูนแยกตามค่ายผู้ผลิต ดังนี้

(...และอีกหลายเรื่อง)

(...และอีกหลายเรื่อง)

เครือข่าย บูมเมอแรง[แก้]

นอกจากช่องแม่ข่ายในสหรัฐอเมริกาแล้ว บูมเมอแรง ยังแพร่ภาพในประเทศต่างๆทั่วโลกในรูปแบบของตัวเอง เช่น

ประเทศ ภาษา เริ่ม
 สหรัฐ อังกฤษ
สเปน
1 เมษายน 2000
 สหราชอาณาจักร
 ไอร์แลนด์
อังกฤษ 27 พฤษภาคม 2000
ลาตินอเมริกา
ธงของประเทศชิลี ชิลี
ธงของประเทศอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา
ธงของประเทศโบลิเวีย โบลิเวีย
ธงของประเทศโคลอมเบีย โคลอมเบีย
ธงของประเทศคอสตาริกา คอสตาริกา
ธงของประเทศคิวบา คิวบา
ธงของประเทศเม็กซิโก เม็กซิโก
ธงของประเทศเอกวาดอร์ เอกวาดอร์
ธงของประเทศกัวเตมาลา กัวเตมาลา
ธงของประเทศปานามา ปานามา
ธงของประเทศเปรู เปรู
ธงของประเทศอุรุกวัย อุรุกวัย
ธงของประเทศเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา
ธงของประเทศปารากวัย ปารากวัย
ธงของประเทศบราซิล บราซิล
สเปน
โปรตุเกส
2 กรกฎาคม 2001
ธงของประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 23 เมษายน 2003
ธงของประเทศอิตาลี อิตาลี อิตาลี 31 กรกฎาคม 2003
ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย อังกฤษ มีนาคม 2004
ธงของประเทศสเปน สเปน สเปน 1 ธันวาคม 2004
ธงของประเทศโปแลนด์ โปแลนด์
ธงของประเทศฮังการี ฮังการี
ธงของประเทศโรมาเนีย โรมาเนีย
ธงของประเทศเบลเยียม เบลเยียม
ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย
 แอฟริกาใต้
โปแลนด์
ฮังการี
โรมาเนีย
อังกฤษ
อังกฤษ
รัสเซีย
อังกฤษ
5 มิถุนายน 2005
 ฮ่องกง
 ศรีลังกา
 อินโดนีเซีย
 ไต้หวัน
อังกฤษ 1 กันยายน 2005
ธงของประเทศเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ ดัตช์ 10 ตุลาคม 2005
ธงของประเทศเยอรมนี เยอรมนี
 ออสเตรีย
 สวิตเซอร์แลนด์
เยอรมัน 1 มิถุนายน 2006
 สวีเดน
ธงของประเทศนอร์เวย์ นอร์เวย์
ธงของประเทศเดนมาร์ก เดนมาร์ก
สวีเดน
นอร์เวย์
เดนมาร์ก
สิงหาคม 2008
 ไทย ไทย 14 สิงหาคม 2013
 จีน
ธงของประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
จีน
ญี่ปุ่น
มีนาคม 2014

ดูเพิ่ม[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]