จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
นางงามจักรวาล 1988 |
---|
Berkas:Porntip Nakhirunkanok.jpg |
พิธีกร | อลัน ธิค และ เทรซี สคอกกินส์ |
---|
สถานที่จัด | เล่อกัว สเตเลี่ยม, ไทเป, ไต้หวัน |
---|
ถ่ายทอดทาง | ซีบีเอส |
---|
เข้าร่วมประกวด | 66 |
---|
ผ่านเข้ารอบ | 10 |
---|
ถอนตัว | บาร์เบโดส, เบลิซ, คูราเซา, ไซปรัส, กรีซ, อินเดีย, เคนยา, ปานามา, เซเนกัล |
---|
กลับมาเข้าร่วม | เบลเยียม, เบอร์มิวดา, ยิบรอลตาร์, ไอซ์แลนด์, ลักเซมเบิร์ก, ไต้หวัน, สกอตแลนด์ |
---|
ผู้ชนะเลิศ | ภรณ์ทิพย์ นาคหิรัญกนก
ไทย[1]
|
---|
นางงามมิตรภาพ | ไลซา มาเรีย คามาโช
กวม |
---|
ชุดประจำชาติยอดเยี่ยม | ภรณ์ทิพย์ นาคหิรัญกนก
ไทย |
---|
ขวัญใจช่างภาพ | เทรซีย์ วิลเลียมส์
อังกฤษ |
---|
นางงามจักรวาล 1988 (อังกฤษ: Miss Universe 1988) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 37 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2531 ณ Lin Kou Stadium, ไทเป, ไต้หวัน ในปีนี้มีผู้เข้าประกวด 66 คน จากทั่วโลก โดยมี เซซิเลีย โบลอกโค นางงามจักรวาล 1987 เป็นผู้มอบมงกุฏให้กับ ภรณ์ทิพย์ นาคหิรัญกนก สาวงามวัย 20 ปี จากประเทศไทย เป็นผู้ครองตำแหน่งนางงามจักรวาลประจำปีนี้
ผลการประกวด[แก้]
ลำดับที่[แก้]
ผลการประกวด
|
ผู้เข้าประกวด
|
นางงามจักรวาล 1988
|
|
รองอันดับ 1
|
|
รองอันดับ 2
|
|
รองอันดับ 3
|
|
รองอันดับ 4
|
|
10 คนสุดท้าย
|
|
คะแนนในรอบตัดสิน[แก้]
คะแนนในรอบชุดว่ายน้ำ(รอบก่อนวันตัดสิน)[แก้]
- 8.988 สาธารณรัฐโดมินิกัน
- 8.822 สหรัฐอเมริกา
- 8.644 เกาหลีใต้
- 8.272 สิงค์โปร์
- 8.255 นอร์เวย์
- 8.227 นิวซีแลนด์
- 8.188 โคลอมเบีย
- 8.161 ไอซ์แลนด์
- 8.144 เดนมาร์ก
- 8.122 เม็กซิโก
- 8.105 ไทย
- 8.105 สวีเดน
- 8.100 เวเนซุเอลา
- 8.055 ฮ่องกง
- 8.044 ญี่ปุ่น
- 8.011 คอสตาริกา
- 8.005 อังกฤษ
|
- 7.988 ตรินิแดดและโตเบโก
- 7.977 ฮอลแลนด์
- 7.966 โปรตุเกส
- 7.937 ไอร์แลนด์
- 7.883 ฟิลิปปินส์
- 7.868 บราซิล
- 7.805 ไต้หวัน
- 7.783 อิตาลี
- 7.772 สกอตแลนด์
- 7.733 ฟินแลนด์
- 7.711 ออสเตรเลีย
- 7.622 มาเลเซีย
- 7.600 ตุรกี
- 7.594 อิสราเอล
- 7.588 ออสเตรีย
- 7.566 ชิลี
- 7.544 แคนาดา
|
- 7.422 เปรู
- 7.411 กรีนแลนด์
- 7.400 อาร์เจนตินา
- 7.342 หมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา
- 7.342 กวม
- 7.316 หมู่เกาะเติกส์และหมู่เกาะเคคอส
- 7.311 เยอรมนี
- 7.305 สวิตเซอร์แลนด์
- 7.300 เปอร์โตริโก
- 7.266 บาฮามาส
- 7.244 เบลเยียม
- 7.222 อุรุกวัย
- 7.155 สเปน
- 7.111 เวลส์
- 7.088 หมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐอเมริกา
- 7.072 ศรีลังกา
|
- 7.066 ฝรั่งเศส
- 7.055 หมู่เกาะบริติชเวอร์จิน
- 7.044 เอกวาดอร์
- 7.022 โบลิเวีย
- 6.922 ยิบรอลตาร์
- 6.911 มอลตา
- 6.868 ไนจีเรีย
- 6.844 เอลซัลวาดอร์
- 6.761 ปารากวัย
- 6.755 อียิปต์
- 6.722 จาเมกา
- 6.711 ลักเซมเบิร์ก
- 6.655 ฮอนดูรัส
- 6.622 เบอร์มิวดา
- 6.555 กัวเตมาลา
- 6.472 เลบานอน
|
รางวัลพิเศษ[แก้]
รางวัล
|
ผู้ชนะ
|
นางงามมิตรภาพ
|
กวม – ไลซา มาเรีย คามาโช
|
ขวัญใจช่างภาพ
|
|
ชุดประจำชาติยอดเยี่ยม
|
|
ลำดับการประกาศชื่อ[แก้]
10 คนสุดท้าย[แก้]
- ฮ่องกง
- สาธารณรัฐโดมินิกัน
- เม็กซิโก
- สหรัฐอเมริกา
- ญี่ปุ่น
- ไทย
- เกาหลีใต้
- โคลอมเบีย
- นอร์เวย์
- เวเนซุเอลา
|
5 คนสุดท้าย[แก้]
- เม็กซิโก
- ฮ่องกง
- เกาหลีใต้
- ญี่ปุ่น
- ไทย
|
คณะกรรมการ[แก้]
รายชื่อคณะกรรมการในวันตัดสิน ประกอบไปด้วย:
- เอมิลิโอ เอสเตฟาน - นักดนตรี, นักแต่งเพลง
- โอเล เฮนริกเซน - เจ้าของผลิตภัณฑ์ดูแลผิวและความงาม
- บาร์บารา ปาลาซิออส เทย์เด - นางงามจักรวาล 1986 จากประเทศเวเนซุเอลา
- ดิค รูแทน - นักบินผู้ทำสถิติบินรอบโลกโดยไม่จอดพักและไม่เติมเชื้อเพลิงเพิ่ม
- ซูซาน รุทแทน - นักแสดง
- มาริโอ วาเลนติโน - ดีไซเนอร์
- จีนา เยเกอร์ - นักบินผู้ทำสถิติบินรอบโลกโดยไม่จอดพักและไม่เติมเชื้อเพลิงเพิ่ม
- เฟอร์นานโด อัลเลนเด - นักแสดง
- รอน เกรชเนอร์ - นักกีฬาฮอกกีน้ำแข็ง
- โอลิเวีย บราวน์ - นักแสดง
- ยง ชิว-ซิน - ผู้เชี่ยวชาญทางด้านการร้องเพลง
ผู้เข้าประกวด[แก้]
ในปีนี้มีผู้เข้าประกวดทั้งหมด 66 คน ดังต่อไปนี้
รายละเอียดของการประกวด[แก้]
ไทย ได้รับตำแหน่งนางงามจักรวาลเป็นคนที่ 2 ของประเทศและเป็นคนที่ 7 ของทวีปเอเชีย
- ประเทศที่ผ่านเข้ารอบในปีที่แล้วด้วย ได้แก่
สหรัฐ และ
เวเนซุเอลา
โคลอมเบีย ผ่านเข้ารอบก่อนหน้านี้เมื่อปี 1986
ไทย ผ่านเข้ารอบก่อนหน้านี้เมื่อปี 1984
นอร์เวย์ ผ่านเข้ารอบก่อนหน้านี้เมื่อปี 1983
เกาหลีใต้ ผ่านเข้ารอบก่อนหน้านี้เมื่อปี 1980
เม็กซิโก ผ่านเข้ารอบก่อนหน้านี้เมื่อปี 1978
สาธารณรัฐโดมินิกัน ผ่านเข้ารอบก่อนหน้านี้เมื่อปี 1977
ฮ่องกง ผ่านเข้ารอบก่อนหน้านี้เมื่อปี 1976
ญี่ปุ่น ผ่านเข้ารอบก่อนหน้านี้เมื่อปี 1975
สหรัฐ ผ่านเข้ารอบเป็นปีที่ 12 ติดต่อกัน
เวเนซุเอลา ผ่านเข้ารอบเป็นปีที่ 6 ติดต่อกัน
กวม ชนะรางวัล นางงามมิตรภาพ เป็นครั้งที่ 4
ไทย ชนะรางวัล ชุดประจำชาติยอดเยี่ยม เป็นครั้งที่ 2
อังกฤษ ชนะรางวัล ขวัญใจช่างภาพ เป็นครั้งที่ 5
ไทย เป็นคนแรกที่ได้รางวัลชุดประจำชาติยอดเยี่ยม และได้ตำแหน่งนางงามจักรวาล
ไทย เป็นประเทศที่ 2 ของเอเชีย และประเทศที่ 8 ของโลก ที่มีนางงามจักรวาลมากกว่า 1 คน
อ้างอิง[แก้]
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]