ข้ามไปเนื้อหา

นางงามจักรวาล 1986

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
นางงามจักรวาล 1986
พิธีกรบ็อบ บาร์คเกอร์, แมรี ฟรานน์
สถานที่จัดATLAPA Convention Center, ปานามาซิตี, ปานามา
ถ่ายทอดทางซีบีเอส
เข้าร่วมประกวด77
ผ่านเข้ารอบ10
เข้าร่วมครั้งแรกโกตดิวัวร์
ถอนตัวเบอร์มิวดา, หมู่เกาะเคย์แมน, ดอมินีกา, เฮติ, เซเนกัล, ตาฮีตี, ยูโกสลาเวีย
กลับมาเข้าร่วมอารูบา, จาเมกา, สวิตเซอร์แลนด์, ตุรกี
ผู้ชนะเลิศบาร์บารา ปาลาซิออส
ธงของประเทศเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา
นางงามมิตรภาพดีนา เรเยส ซาลาส
ธงของกวม กวม
ชุดประจำชาติยอดเยี่ยมกิลดา การ์เซีย โลเปซ
ธงของประเทศปานามา ปานามา
ขวัญใจช่างภาพซูซานนา ฮัคสเตป
ธงของประเทศอิตาลี อิตาลี
← 1985
1987 →

นางงามจักรวาล 1986 (อังกฤษ: Miss Universe 1986) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 35 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 ณ ATLAPA Convention Center, ปานามาซิตี, ปานามา ในปีนี้มีผู้เข้าประกวด 77 คน จากทั่วโลก โดยมี เดโบราห์ คาร์ทีย์-ดิว นางงามจักรวาล 1985 จาก เกาะเปอร์โตริโก้ เป็นผู้มอบมงกุฏให้กับ บาร์บารา ปาลาซิออส สาวงามวัย 22 ปีจากประเทศเวเนซุเอลา เป็นผู้ครองตำแหน่งนางงามจักรวาลประจำปีนี้

ผลการประกวด

[แก้]

ลำดับที่

[แก้]
ผลการประกวด ผู้เข้าประกวด
นางงามจักรวาล 1986
รองอันดับ 1
รองอันดับ 2
รองอันดับ 3
รองอันดับ 4
10 คนสุดท้าย

คะแนนในรอบตัดสิน

[แก้]

คะแนนในรอบชุดว่ายน้ำ(รอบก่อนวันตัดสิน)

[แก้]

รางวัลพิเศษ

[แก้]
รางวัล ผู้ชนะ
นางงามมิตรภาพ
  • ธงของกวม กวม - ดีนา เรเยส ซาลาส
ขวัญใจช่างภาพ
ชุดประจำชาติยอดเยี่ยม

ลำดับการประกาศชื่อ

[แก้]

คณะกรรมการ

[แก้]

รายชื่อคณะกรรมการในวันตัดสิน ประกอบไปด้วย:

  • ดอน คอร์เรีย - นักแสดง
  • พาโลมา ซาน เบสซิลิโอ - นักร้อง
  • แฮร์รี แลงดอน - ช่างภาพ
  • โอ ซุน-แทค - นักแสดง
  • ชอว์น เวทเธอร์ลี - นางงามจักรวาล 1980 จากประเทศสหรัฐอเมริกา
  • โฮเซ ควินเตโร - ผู้กำกับ
  • คริสตี แม็คนิโคล - นักแสดง
  • วิลลาร์ด พิวจ์ - นักแสดง
  • ลูปิตา เฟอร์เร - นักแสดง
  • เจอร์รี ทิมม์ - นักแสดง
  • แพทริค แม็คนีย์ - นักแสดง
  • แซนดี ดันแคน - นักแสดง

ผู้เข้าประกวด

[แก้]

ในปีนี้มีผู้เข้าประกวดทั้งหมด 77 คน ดังต่อไปนี้

รายละเอียดของการประกวด

[แก้]
  • ธงของประเทศเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา นางงามจากทวีปอเมริกาใต้คนที่​ 7​ ได้รับตำแหน่งนางงามจักรวาลเป็นคนที่ 3 ของประเทศ
  •  สหรัฐ ผ่านเข้ารอบเป็นปีที่ 10 ติดต่อกัน
  • ธงของประเทศเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา ผ่านเข้ารอบเป็นปีที่ 4 ติดต่อกัน
  • ธงของกวม กวม ชนะรางวัล นางงามมิตรภาพ เป็นครั้งที่ 3
  • ธงของประเทศปานามา ปานามา ชนะรางวัล ชุดประจำชาติยอดเยี่ยม เป็นครั้งแรก
  • ธงของประเทศอิตาลี อิตาลี ชนะรางวัล ขวัญใจช่างภาพ เป็นครั้งที่ 3

อ้างอิง

[แก้]
  1. Mueller, Andrew (August 31, 2003). "Reversing the lens: Helena Christensen". Sunday Tribune. Ireland. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-01-04. สืบค้นเมื่อ 2010-09-12.
    Mottram, James (June 10, 2006). "Helena Christensen: Role Model". The Independent. London. สืบค้นเมื่อ 2010-09-12.[ลิงก์เสีย]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]