นางงามจักรวาล 1984

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
นางงามจักรวาล 1984
พิธีกรบ็อบ บาร์คเกอร์, โจน แวน อาร์ค
สถานที่จัดJames L. Knight Convention Center, ไมอามี, ฟลอริดา, สหรัฐอเมริกา
ถ่ายทอดทางซีบีเอส
เข้าร่วมประกวด81
ผ่านเข้ารอบ10
ถอนตัวบาฮามาส, อินโดนีเซีย, ศรีลังกา, ทรานสไก
กลับมาเข้าร่วมบาร์เบโดส, ลักเซมเบิร์ก, โปแลนด์, ยูโกสลาเวีย, ซาอีร์
ผู้ชนะเลิศอีวอนน์ รีดิง
ธงของประเทศสวีเดน สวีเดน
นางงามมิตรภาพเจสสิกา ปาเลา
ธงของยิบรอลตาร์ ยิบรอลตาร์
ชุดประจำชาติยอดเยี่ยมจูฮี ชาวลา
ธงของประเทศอินเดีย อินเดีย
ขวัญใจช่างภาพการ์บีน อบาโซโล
ธงของประเทศสเปน สเปน
← 1983
1985 →

นางงามจักรวาล 1984 (อังกฤษ: Miss Universe 1984) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 33 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2527 ณ James L. Knight Convention Center, ไมอามี, รัฐฟลอริดา, ประเทศสหรัฐอเมริกา ในปีนี้มีผู้เข้าประกวด 81 คน จากทั่วโลก โดยมี ลอร์เรน ดาวนส์ นางงามจักรวาล 1983 จากประเทศนิวซีแลนด์ เป็นผู้มอบมงกุฏให้กับ อีวอนน์ รีดิง สาวงามวัย 21 ปีจากประเทศสวีเดน เป็นผู้ครองตำแหน่งนางงามจักรวาลประจำปีนี้

ผลการประกวด[แก้]

ลำดับที่[แก้]

ผลการประกวด ผู้เข้าประกวด
นางงามจักรวาล 1984
รองอันดับ 1
รองอันดับ 2
รองอันดับ 3
รองอันดับ 4
10 คนสุดท้าย

คะแนนในรอบตัดสิน[แก้]

คะแนนในรอบชุดว่ายน้ำ(รอบก่อนวันตัดสิน)[แก้]

รางวัลพิเศษ[แก้]

รางวัล ผู้ชนะ
นางงามมิตรภาพ
ขวัญใจช่างภาพ
  • ธงของประเทศสเปน สเปน - การ์บีน อบาโซโล
ชุดประจำชาติยอดเยี่ยม

ลำดับการประกาศชื่อ[แก้]

คณะกรรมการ[แก้]

รายชื่อคณะกรรมการในวันตัดสิน ประกอบไปด้วย:

  • คอนสแตนซ์ ทาวเวอร์ส - นักแสดง
  • มาเรีย ทอลล์ชีพ - นักเต้นบัลเลต์
  • ลูเซีย เมนเดส - นักแสดง
  • แคโรลินา เฮอร์เรรา - แฟชั่นดีไซเนอร์
  • รอนนี คอกซ์ - นักแสดง
  • ลินดา คริสเตียน - นักแสดง
  • คาเรน บอลด์วิน - นางงามจักรวาล 1982 จากประเทศแคนาดา

ผู้เข้าประกวด[แก้]

ในปีนี้มีผู้เข้าประกวดทั้งหมด 81 คน ดังต่อไปนี้

รายละเอียดของการประกวด[แก้]

  • ธงของประเทศสวีเดน สวีเดน ได้รับตำแหน่งนางงามจักรวาลเป็นคนที่สามของประเทศ (เป็นประเทศที่สองที่มีนางงามจักรวาลสามคน ต่อจาก  สหรัฐและคนที่ 9 ของทวีปยุโรป))
  • ธงของประเทศกัวเตมาลา กัวเตมาลา ครั้งนี้เป็นการผ่านเข้ารอบครั้งที่ 2 ในประวัติศาสตร์
  •  ไทย ครั้งนี้เป็นการผ่านเข้ารอบครั้งที่ 4 ในประวัติศาสตร์
  •  สหรัฐ ผ่านเข้ารอบเป็นปีที่ 8 ติดต่อกัน
  • ธงของประเทศเยอรมนี เยอรมนี ผ่านเข้ารอบเป็นปีที่ 4 ติดต่อกัน
  • ธงของยิบรอลตาร์ ยิบรอลตาร์ ชนะรางวัล นางงามมิตรภาพ เป็นครั้งแรก
  • ธงของประเทศอินเดีย อินเดีย ชนะรางวัล ชุดประจำชาติยอดเยี่ยม เป็นครั้งที่สาม
  • ธงของประเทศสเปน สเปน ชนะรางวัล ขวัญใจช่างภาพ เป็นครั้งแรก
  • ธงของประเทศสเปน สเปน เป็นประเทศที่สองที่ชนะรางวัลพิเศษครบทั้งสามรางวัล (นางงามมิตรภาพ, ชุดประจำชาติยอดเยี่ยม และ ขวัญใจช่างภาพ) ต่อจาก  สหรัฐ

อ้างอิง[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]