ชิงกันเซ็ง E6 ซีรีส์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
E6 ซีรีส์
ประจำการมีนาคม 2013–
ผู้ผลิตฮิตาชิ, คาวาซากิ
แทนที่E3-0 series
สายการผลิตพ.ศ. 2553–2557
จำนวนที่ผลิต168 ตู้ (24 ขบวน)
จำนวนในประจำการ168 ตู้ (24 ขบวน)
รูปแบบการจัดขบวน7 ตู้ต่อขบวน
หมายเลขตัวรถZ1–Z24
ความจุผู้โดยสาร338 (315 ชั้นสแตนดาร์ด + 23 ชั้นกรีน)
ผู้ให้บริการJR ตะวันออก
โรงซ่อมบำรุงอากิตะ
สายที่ให้บริการโทโฮกุชิงกันเซ็ง, อากิตะชิงกันเซ็ง
คุณลักษณะ
วัสดุตัวถังอัลลูมิเนียมอัลลอย
ความยาวทั้งขบวน148.65 m (487.7 ft)
ความเร็วสูงสุด320 km/h (200 mph) (โทโฮกุชิงกันเซ็ง)
130 km/h (81 mph) (อากิตะชิงกันเซ็ง)
กำลังขับเคลื่อน6,000 kW (8,050 hp)
ระบบจ่ายไฟฟ้า25 kV AC, 50Hz จ่ายไฟเหนือหัว (โทโฮกุชิงกันเซ็ง)
20 kV AC, 50Hz จ่ายไฟเหนือหัว (อากิตะชิงกันเซ็ง)
ตัวรับกระแสไฟแหนบรับไฟ
สามารถทำขบวนร่วมกับE5 ซีรีส์, H5 ซีรีส์
มาตรฐานทางกว้าง1,435 mm (4 ft 8 12 in) สแตนดาร์ดเกจ

E6 ซีรีส์ เป็นรุ่นของรถไฟความเร็วสูงชิงกันเซ็งของญี่ปุ่น ดำเนินงานโดยบริษัทรถไฟญี่ปุ่นตะวันออก (JR ตะวันออก) รถไฟรุ่นนี้เป็นรุ่นลำตัวแคบที่เรียกว่ามินิชิงกันเซ็ง ซึ่งพัฒนาต่อยอดจากรุ่น E5 ซีรีส์ ให้บริการในเส้นทางโทโฮกุชิงกันเซ็งและอากิตะชิงกันเซ็ง เริ่มให้บริการครั้งแรกเมื่อวันที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2556

การจัดขบวน[แก้]

ขบวนต้นสายการผลิต (เลข S12)[แก้]

เลขตู้ 11 12 13 14 15 16 17
รหัสผัง M1sc Tk M1 M1 M1 T M1c
หมายเลข E611 E628 E625 E625-100 E627 E629 E621
น้ำหนัก (ตัน) 45.7 44.4 42.5 43.1 42.5 44.5 43.8
ความจุที่นั่ง 23 35 60 60 68 60 32
  • ตู้ 11 มีที่นั่งชั้นกรีน
  • ตู้ 12 และ 16 เป็นตู้ติดตั้งแหนบรับไฟแขนเดี่ยว[1]
  • ตู้ 11 ถึง 14 สร้างโดยคาวาซากิ, ตู้ 15 ถึง 17 สร้างโดยฮิตาชิ[1]

ขบวนสายการผลิตสมบูรณ์ (เลข Z2)[แก้]

เลขตู้ 11 12 13 14 15 16 17
รหัสผัง M1sc Tk M1 M1 M1 T M1c
หมายเลข E611 E628 E625 E625-100 E627 E629 E621
น้ำหนัก (ตัน) 45.1 44.4 41.7 41.8 42.1 44.2 43.4
ความจุที่นั่ง 22 34 60 60 68 60 32
  • ตู้ 11 มีที่นั่งชั้นกรีน
  • ตู้ 12 และ 16 เป็นตู้ที่ติดตั้งแหนบรับไฟแขนเดี่ยว[2]

ภายใน[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 JR電車編成表 2014夏 [JR EMU Formations - Summer 2014]. Japan: Kotsu Shimbunsha. 30 May 2014. p. 20. ISBN 978-4-330-46614-9.
  2. Seko, Masayuki (February 2013). E6系量産車 [E6 series full-production train]. Japan Railfan Magazine. Vol. 53 no. 622. Japan: Koyusha Co., Ltd. pp. 54–61.