ฉบับร่าง:การเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดในประเทศไทยครั้งถัดไป

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
การเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดในประเทศไทย ครั้งถัดไป

← 2565 ไม่เกิน 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2568[1]

จำนวนทั้งสิ้น 76 จังหวัดที่มีการเลือกตั้ง
  First party Second party Third party
 
พรรค เพื่อไทย ก้าวไกล ประชาธิปัตย์
ที่นั่งก่อนหน้า 11 พรรคใหม่ 1

  Fourth party
 
พรรค ไม่สังกัดพรรคใด
ที่นั่งก่อนหน้า 64


การเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดและนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด ครั้งถัดไป เป็นการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นและผู้บริหารท้องถิ่นขององค์การบริหารส่วนจังหวัด กำหนดให้มีขึ้นไม่เกิน 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2568 เพื่อเลือกตั้งสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) และนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด จำนวน 76 จังหวัด

ที่มานายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดและสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด[แก้]

นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดและสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน โดยมีที่มา ดังนี้

  • นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด ใช้เขตจังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง
  • สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด ใช้เขตอำเภอเป็นเขตเลือกตั้ง ในกรณีที่อำเภอใดมีสมาชิกเกิน 1 คน ให้แบ่งเขตอำเภอเป็นเขตเลือกตั้ง เท่ากับจำนวนสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดที่จะพึงมีในอำเภอนั้น และมีสมาชิกเขตเลือกตั้งละ 1 คน

องค์ประกอบของสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด[แก้]

สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน ซึ่งจำนวนสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดแต่ละจังหวัด ขึ้นอยู่กับจำนวนราษฎรของจังหวัดนั้น โดยกำหนดไว้ดังนี้

จำนวนสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดแต่ละจังหวัด
จำนวนราษฎร จำนวนสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด
ไม่เกิน 500,000 คน 24 คน
เกิน 500,000 คน แต่ไม่เกิน 1 ล้านคน 30 คน
เกิน 1 ล้านคน แต่ไม่เกิน 1.5 ล้านคน 36 คน
เกิน 1.5 ล้านคน แต่ไม่เกิน 2 ล้านคน 42 คน
2 ล้านคนขึ้นไป 48 คน

วาระการดำรงตำแหน่ง[แก้]

นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด

มีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละ 4 ปี นับแต่วันเลือกตั้ง แต่จะดำรงตำแหน่งติดต่อกันเกิน 2 วาระไม่ได้ ในกรณีดำรงตำแหน่งไม่ครบ 4 ปีก็ให้ถือว่าเป็น 1 วาระ และเมื่อได้ดำรงตำแหน่ง 2 วาระติดต่อกันแล้วจะดำรงตำแหน่งได้อีกเมื่อพ้นระยะเวลา 4 ปีนับแต่วันพ้นตำแหน่ง

สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด

อายุของสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด มีกำหนดคราวละ 4 ปีนับแต่วันเลือกตั้ง

รายนามนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด[แก้]

รูปแบบ ความหมาย
ดำรงสมาชิกภาพ
สิ้นสุดสมาชิกภาพ
กลุ่ม{{}} กลุ่มการเมืองที่ได้รับการสนับสนุน
จากพรรคการเมืองนั้นๆ
พรรค{{}} ผู้สมัครจากพรรคการเมืองนั้นๆ
สีกลุ่ม สีพรรค
กลุ่ม ก้าวไกล
กลุ่ม เพื่อไทย
กลุ่ม พลังประชารัฐ
กลุ่ม ภูมิใจไทย
กลุ่ม ประชาธิปัตย์
กลุ่ม ชาติไทยพัฒนา

แยกตามรายภาคตามการแบ่งของราชบัณฑิตยสถาน

ภาคกลาง[แก้]

มีรายนามดังนี้

จังหวัด นาม สังกัด หมายเหตุ
กำแพงเพชร
ชัยนาท
นครนายก
นครปฐม
นครสวรรค์
นนทบุรี
ปทุมธานี
พระนครศรีอยุธยา
พิจิตร
พิษณุโลก
เพชรบูรณ์
ลพบุรี
สมุทรปราการ
สมุทรสงคราม
สมุทรสาคร
สระบุรี
สิงห์บุรี
สุโขทัย
สุพรรณบุรี
อ่างทอง
อุทัยธานี

ภาคเหนือ[แก้]

มีรายนามดังนี้

จังหวัด นาม สังกัด หมายเหตุ
เชียงราย
เชียงใหม่
น่าน
พะเยา
แพร่
แม่ฮ่องสอน
ลำปาง
ลำพูน
อุตรดิตถ์

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ[แก้]

มีรายนามดังนี้

จังหวัด นาม สังกัด หมายเหตุ
กาฬสินธุ์ ไม่มีการเลือกตั้ง เนื่องจาก เฉลิมขวัญ หล่อตระกูล ได้รับเลือกตั้งเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2565
ขอนแก่น
ชัยภูมิ
นครพนม
นครราชสีมา
บึงกาฬ
บุรีรัมย์
มหาสารคาม
มุกดาหาร
ยโสธร
ร้อยเอ็ด ไม่มีการเลือกตั้ง เนื่องจาก เศกสิทธิ์ ไวนิยมพงศ์ ได้รับเลือกตั้งเมื่อวันที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2565
เลย ไม่มีการเลือกตั้ง เนื่องจาก ชัยธวัช เนียมศิริ ได้รับเลือกตั้งเมื่อวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2567
ศรีสะเกษ
สกลนคร
สุรินทร์
หนองคาย
หนองบัวลำภู
อุดรธานี
อุบลราชธานี
อำนาจเจริญ

ภาคใต้[แก้]

มีรายนามดังนี้

จังหวัด นาม สังกัด หมายเหตุ
กระบี่
ชุมพร
ตรัง
นครศรีธรรมราช
นราธิวาส
ปัตตานี
พังงา
พัทลุง
ภูเก็ต
ยะลา
ระนอง
สงขลา
สตูล
สุราษฎร์ธานี

ภาคตะวันออก[แก้]

มีรายนามดังนี้

จังหวัด นาม สังกัด หมายเหตุ
จันทบุรี
ฉะเชิงเทรา
ชลบุรี
ตราด
ปราจีนบุรี
ระยอง
สระแก้ว ไม่มีการเลือกตั้ง เนื่องจาก ฐานิสร์ เทียนทอง ได้รับเลือกตั้งเมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2566


ภาคตะวันตก[แก้]

มีรายนามดังนี้

จังหวัด นาม สังกัด หมายเหตุ
กาญจนบุรี ไม่มีการเลือกตั้ง เนื่องจาก ประวัติ กิจธรรมกูลนิจ ได้รับเลือกตั้งเมื่อวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2566
ตาก
ประจวบคีรีขันธ์
เพชรบุรี
ราชบุรี

อ้างอิง[แก้]

  1. "ปี 2567 เริ่มนับถอยหลังเลือกตั้ง"อบจ."ทั่วประเทศ". thansettakij. 2024-01-01.