การทัพเกาจิ๋ว
การทัพเกาจิ๋ว | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
การทัพเกาจิ๋ว เส้นสีแดงคือง่อก๊ก เส้นสีน้ำเงินคือวุยก๊ก/ราชวงศ์จิ้นตะวันตก | |||||||
| |||||||
คู่สงคราม | |||||||
ง่อก๊ก |
วุยก๊ก (จนถึง ค.ศ. 266) ราชวงศ์จิ้นตะวันตก (ตั้งแต่ ค.ศ. 266) | ||||||
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ | |||||||
ซุน ซฺวี † หลิว จฺวิ้น † ซิว เจ๋อ † กู้ หรง ยฺหวี ซื่อ ชีฮู เถา หฺวาง เลือง กี่ |
หลา ฮึง ฮั่ว อี้ ชฺว่าน กู่ หม่า หรง หยาง จี้ เหมา จฺหย่ง ต่ง ยฺเหวียน † หวาง ซู่ | ||||||
กำลัง | |||||||
การโต้กลับครั้งแรก: ไม่ทราบ การโต้กลับครั้งที่สอง: 100,000+[1] | ไม่ทราบ |
การทัพเกาจิ๋ว (เวียดนาม: Chiến dịch Giao Quảng) หรือ กบฏเกาจี (จีน: 交阯之亂; เวียดนาม: Giao Chỉ chi loạn)[2] เป็นความขัดแย้งทางการทหารระหว่างรัฐง่อก๊กและวุยก๊กตั้งแต่ ค.ศ. 264 ถึง ค.ศ. 266 และภายหลังเป็นความขัดแย้งระหว่างง่อก๊กและราชวงศ์จิ้นตะวันตกตั้งแต่ ค.ศ. 266 ถึง ค.ศ. 271 ในยุคสามก๊กของจีน ความขัดแย้งในช่วงต้นเป็นการก่อกบฏในท้องถิ่นเพื่อต่อต้านง่อก๊กในเมืองเกาจี (交阯 เจียวจื่อ) ในปี ค.ศ. 263 แต่ในปี ค.ศ. 264 วุยก๊ก (ซึ่งถูกแทนที่ด้วยราชวงศ์จิ้นในปี ค.ศ. 266) ได้เข้าแทรกแซงและยึดอาณาเขตส่วนใหญ่ของง่อก๊กในมณฑลเกาจิ๋ว (交州 เจียวโจว) และกว่างโจว (廣州; ครอบคลุมพื้นที่ของมณฑลกวางตุ้งและเขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วงในปัจจุบัน) ง่อก๊กยกมาโต้กลับในปี ค.ศ. 268 และแล้วในปี ค.ศ. 271 ง่อก๊กก็ขับไล่ทัพราชวงศ์จิ้นและชิงอาณาเขตที่เสียไปคืนมาได้ทั้งหมด การทัพนี้ถือเป็นหนึ่งในชัยชนะครั้งใหญ่ของง่อก๊กในช่วงท้ายของยุคสามก๊ก
ภูมิหลัง
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
การทัพ
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ผลสืบเนื่อง
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
อ้างอิง
[แก้]บรรณานุกรม
[แก้]- ตันซิ่ว (ศตวรรษที่ 3). สามก๊กจี่ (ซานกั๋วจื้อ).
- ฉาง ฉฺวี (ศตวรรษที่ 4). หฺวาหยางกั๋วจื้อ.
- เผย์ ซงจือ (ศตวรรษที่ 5). อรรถาธิบายสามก๊กจี่ (ซานกั๋วจื้อจู้).
- ฝาน เสฺวียนหลิง (648). จิ้นชู.
- ซือหม่า กวาง (1084). จือจื้อทงเจี้ยน.