วอลเลย์บอลหญิงในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
วอลเลย์บอลหญิงในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976
รายละเอียด
ประเทศเจ้าภาพธงของประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
วันที่18–30 กรกฎาคม
ทีม8
สถานที่ (ใน 1 เมืองเจ้าภาพ)
ชนะเลิศธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น (สมัยที่ 2)

วอลเลย์บอลหญิงในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลหญิง จำนวน 8 ทีม ภายใต้การกำกับดูแลการแข่งขันโดยคณะกรรมการโอลิมปิกสากล (ไอโอซี) ร่วมกับ สหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติ (เอฟไอวีบี) และนับเป็นการแข่งขันกีฬาวอลเลย์บอลในโอลิมปิกฤดูร้อน ครั้งที่ 4 จัดการแข่งขันระหว่างวันที่ 18–30 กรกฎาคม พ.ศ. 2519 โดยวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติญี่ปุ่น สามารถคว้าเหรียญทองไปครองได้เป็นสมัยที่สอง

การคัดเลือก[แก้]

การแข่งขัน จำนวนทีม ประเทศที่ผ่านการคัดเลือก
เจ้าภาพ 1 ธงชาติแคนาดา แคนาดา
วอลเลย์บอลหญิงในโอลิมปิกฤดูร้อน 1972 1 ธงชาติสหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต
ชิงแชมป์โลก 1974 1 ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
ชิงแชมป์เอเชีย 1975 1 ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้*
ชิงแชมป์นอร์เซกา 1975 1 ธงชาติคิวบา คิวบา
ชิงแชมป์อเมริกาใต้ 1975 1 ธงชาติเปรู เปรู
ชิงแชมป์ยุโรป 1975 1 ธงชาติฮังการี ฮังการี*
การแข่งขันพิเศษ 1 ธงชาติเยอรมนีตะวันออก เยอรมนีตะวันออก**
รวม 8
* เกาหลีใต้และฮังการีผ่านในฐานะทีมที่ดีที่สุด ซึ่งญี่ปุ่นและสหภาพโซเวียตผ่านการคัดเลือกแล้ว
** เยอรมนีตะวันออกผ่านการคัดเลือกจากการแข่งขันพิเศษที่ ไฮเดลแบร์ก, ประเทศเยอรมนี

การแบ่งกลุ่ม[แก้]

กลุ่ม A กลุ่ม B
ธงชาติแคนาดา แคนาดา ธงชาติสหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้
ธงชาติเปรู เปรู ธงชาติคิวบา คิวบา
ธงชาติฮังการี ฮังการี ธงชาติเยอรมนีตะวันออก เยอรมนีตะวันออก

สนามแข่งขัน[แก้]

แคนาดา รัฐเกแบ็ก, แคนาดา
Montreal Forum Paul Sauvé Arena
ความจุ: 18,575 คน ความจุ: 4,000 คน
ไม่มีภาพ

รอบแบ่งกลุ่ม[แก้]

กลุ่ม A[แก้]

แข่ง แต้ม เซต
อันดับ ทีม แต้ม ชนะ แพ้ ชนะ แพ้ อัตราส่วน ชนะ แพ้ อัตราส่วน
1 ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 6 3 0 9 0 MAX 135 43 3.140
2 ธงชาติฮังการี ฮังการี 5 2 1 6 5 1.200 120 132 0.909
3 ธงชาติเปรู เปรู 4 1 2 4 8 0.500 124 154 0.805
4 ธงชาติแคนาดา แคนาดา 3 0 3 3 9 0.333 113 163 0.693

กลุ่ม B[แก้]

แข่ง แต้ม เซต
อันดับ ทีม แต้ม ชนะ แพ้ ชนะ แพ้ อัตราส่วน ชนะ แพ้ อัตราส่วน
1 ธงชาติสหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต 6 3 0 9 4 2.250 186 137 1.358
2 ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 5 2 1 7 7 1.000 179 171 1.047
3 ธงชาติคิวบา คิวบา 4 1 2 6 7 0.857 150 168 0.893
4 ธงชาติเยอรมนีตะวันออก เยอรมนีตะวันออก 3 0 3 5 9 0.556 144 183 0.787

รอบสุดท้าย[แก้]

รอบชิงชนะเลิศ[แก้]

  รอบรองชนะเลิศ รอบชิงชนะเลิศ
29 กรกฎาคม
 ธงชาติสหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต  3  
 ธงชาติฮังการี ฮังการี  0  
 
30 กรกฎาคม
     ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น  3
   ธงชาติสหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต  0
รอบชิงอันดับ 3
29 กรกฎาคม 30 กรกฎาคม
 ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น  3  ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้  3
 ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้  0    ธงชาติฮังการี ฮังการี  1

รอบจัดอันดับ 5–8[แก้]

  รอบจัดอันดับ 5–8 รอบชิงอันดับ 5
26 กรกฎาคม
 ธงชาติคิวบา คิวบา  3  
 ธงชาติแคนาดา แคนาดา  2  
 
27 กรกฎาคม
     ธงชาติคิวบา คิวบา  3
   ธงชาติเยอรมนีตะวันออก เยอรมนีตะวันออก  0
รอบชิงอันดับ 7
26 กรกฎาคม 27 กรกฎาคม
 ธงชาติเยอรมนีตะวันออก เยอรมนีตะวันออก  3  ธงชาติเปรู เปรู  3
 ธงชาติเปรู เปรู  2    ธงชาติแคนาดา แคนาดา  1

อันดับการแข่งขัน[แก้]

สรุปรายชื่อนักกีฬาที่ได้รับเหรียญ[แก้]

เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น[1]
โชโกะ ทะกะยะนะงิ
จุริ โยะโกะยะมะ
มะริโกะ โยะชิดะ
ฮิโระมิ ยะโนะ
ทะกะโกะ ชิระอิ
มะริโกะ โอะกะโมะโตะ
เอะชิโกะ มะเอะดะ
โนะริโกะ มะสึดะ
ยูโกะ อะระกิดะ
กิโยะมิ คะโต
คะสึโกะ คะเนะซะกะ
ทะกะโกะ อิดะ
ธงชาติสหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต
Lyudmila Chernysova
Larisa Bergen
Olga Kozakova
Natalya Kushnir
Nina Muradyan
Liliya Osadchaya
Nina Smoleyeva
Lyudmila Shchetinina
อีนา รีสเกล
อันนา รอสโตวา
ลีบอฟ รูดอฟสกายา
โซยา ยูโยวา
ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้
ยู ช็อง-ฮเย
ยู คย็อง-ฮวา
ช็อง ซุน-อ๊ก
ยุน ย็อง-เน
พัก มิ-กึม
มา กึม-จา
อี ซุน-อ๊ก
อี ซุน-บอก
แพค มย็อง-ซ็อน
โจ ฮี-ช็อง
พย็อน คย็อง-จา
ชาง ฮี-ซุก

อ้างอิง[แก้]

  1. "1976 Summer Olympics". databaseolympics.com. สืบค้นเมื่อ 25 August 2014.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]