มิสเอิร์ธ
ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
บทความนี้ได้รับแจ้งให้ปรับปรุงหลายข้อ กรุณาช่วยปรับปรุงบทความ หรืออภิปรายปัญหาที่หน้าอภิปราย
|
ก่อตั้ง | 2544 |
---|---|
ประเภท | การประกวดความงาม |
สํานักงานใหญ่ | มะนิลา |
ที่ตั้ง | |
ภาษาทางการ | อังกฤษ |
ประธานบริหาร | เรมอน มอนซอน |
บุคลากรหลัก | โรรายน์ ซคัต |
เว็บไซต์ | official website |
มิสเอิร์ธ (อังกฤษ: Miss Earth) เป็นการประกวดนางงามในฟิลิปปินส์ โดยชูแนวคิดรณรงค์ความตระหนักต่อสิ่งแวดล้อม[1][2]
ตั้งแต่เริ่มก่อตั้ง การประกวดส่วนใหญ่จัดขึ้นที่ฟิลิปปินส์, ในเดือนตุลาคมหรือพฤศจิกายน, แต่เวียดนามและออสเตรียก็เป็นเจ้าภาพงานนี้เช่นกัน ตั้งแต่ 2002, มีการถ่ายทอดสดทั่วประเทศผ่านทาง ABS-CBN (ยกเว้นในปี 2018 เมื่อ GMA Network ออกอากาศการประกวด) และ Studio 23 (จนกว่าจะปิดตัวลงในปี 2014), ด้วยการออกอากาศทางโทรทัศน์ระหว่างประเทศกว่า 80 ประเทศผ่าน Star World (เปลี่ยนชื่อเป็น Fox Life) และ The Filipino Channel.[3][4][5]
ผู้ครองตำแหน่งในแต่ละปีจะอุทิศตนเพื่อส่งเสริมโครงการเฉพาะ, มักกล่าวถึงปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมและความท้าทายระดับโลกอื่นๆ[6][7] ผ่านทัวร์โรงเรียน, กิจกรรมปลูกต้นไม้, การรณรงค์ตามท้องถนน, การทำความสะอาด, การพูดจา, ทัวร์ห้างสรรพสินค้า, สื่อมวลชน, งานแสดงสินค้าด้านสิ่งแวดล้อม, โปรแกรมเล่าเรื่องสำหรับเด็ก, งานแสดงแฟชั่นเชิงนิเวศ และกิจกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอื่นๆ.[8][9][10]
ผู้ได้รับรางวัลมิสเอิร์ธจะได้เป็นโฆษกมูลนิธิมิสเอิร์ธ โครงการสิ่งแวดล้อม แห่งสหประชาชาติ (UNEP) และองค์กรด้านสิ่งแวดล้อมอื่นๆ.[11][12][13] มูลนิธิมิสเอิร์ธยังทำงานร่วมกับหน่วยงานด้านสิ่งแวดล้อมและกระทรวงของประเทศที่เข้าร่วม ภาคเอกชนและองค์กรต่างๆ รวมถึงมูลนิธิสัตว์ป่าโลก (WWF).[14][15][16]
มิสเอิร์ธคนปัจจุบันคือ เจสสิก้า เลน จากออสเตรเลีย ได้รับการสวมมงกุฎในวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2567
เจ้าภาพในการจัดประกวด
[แก้]การประกวดมิสเอิร์ธนั้น ส่วนใหญ่จะจัดประกวดในประเทศฟิลิปปินส์ บางปีกองประกวดอาจจะพาสาวงามไปเก็บตัวหรือพาไปประกวดที่ประเทศอื่น ได้แก่ ปี 2015 จัดที่ประเทศออสเตรีย, ปี 2010, 2023 จัดที่ประเทศเวียดนาม ซึ่งจะไปประกวดที่ไหนนั้นจะขึ้นอยู่กับคำสั่งของกองประกวดในปีนั้น ๆ
รูปแบบการประกวด
[แก้]เวทีการประกวดมิสเอิร์ธในช่วงยุคแรกของการประกวด (ปี 2001 - 2003) กองประกวดนั้นจะคัดเลือกสาวงาม 10 คนสุดท้ายที่ความพร้อมและความสามารถผ่านเข้ารอบ จากนั้นจึงคัดให้เหลือ 8 และ 4 คนสุดท้าย และในยุคปัจจุบัน (ปี 2004 - ปัจจุบัน) ในรอบแรกจะคัดให้เหลือ 16 คน จากนั้นจึงคัดให้เหลือ 8 และ 4 คนสุดท้าย แล้วจึงคัดหาผู้ชนะต่อไป
ในการประกวดมิสเอิร์ธ เมื่อมีการประกาศผลแล้ว จะชื่อประจำตำแหน่งต่าง ๆ เช่นชนะเลิศือมิสเอิร์ท รองชนะเลิศทั้ง 3 คนจะมีชื่อตำแหน่งว่ามิสเอิร์ธแอร์ มิสเอิร์ธวอเตอร์ มิสเอิร์ธไฟเออร์ (มีตำแหน่งที่เท่ากัน) [ต้องการอ้างอิง]
ของรางวัลที่ผู้ชนะจะได้รับ
[แก้]มงกุฎรูปแบบเก่า
[แก้]มงกุฎรูปเก่านั้นมีอยู่ 2 แบบโดยแบบแรกนั้นใช้ในปี 2001 ซึ่งเป็นรูปแบบมงกุฏแบบ ชวารอสกี้ และแบบที่ 2 นั้นเริ่มใช้ตั้งแต่ปี 2002 - 2007 และเป็นการใช้ติดต่อกันเป็นเวลา 8 ปี จึงทำให้ตัวมงกุฏนั้นเกิดการชำรุดเสียหาย โดยการออกแบบตัวมงกุฎนั้นจะมีแนวคิดจากการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเป็นหลัก และถูกออกแบบโดย มัลติอวอร์ด ซึ่งตัวมงกุฎนั้นจะประกอบไปด้วย เงิน สแนเลท ซึ่งเป็นส่วนประกอบของโครงมงกุฎ แต่ยังคงรูปแบบของชวารอสกี้แบบเดิม และตัวมงกุฎนั้นจะประดับด้วยเพชรพลอย สีแดง และสีฟ้า และมีไข่มุกชวารอสกี้เป็นส่วนประดับเพิ่มเติมอีกด้วย
มงกุฎรูปแบบใหม่
[แก้]มงกุฎรูปแบบใหม่นี้ถูกใช้ขึ้นเมื่อปี 2008 ทำจากโลหะซึ่งเป็นเงิน ทอง และสแทนเลท เป็นส่วนประกอบของโครงมงกุฎ อัญมณีที่ใช้ประดับตัวมงกุฎนั้นได้มาจากการบริจาคจาก 80 ประเทศ และเป็นอัญมณีที่ขึ้นชื่อของแต่ละประเทศนั้น ตัวมงกุฎนั้นแบ่งได้เป็น 3 ส่วนคือ
- ดอกไม้ ที่อยู่บริเวณตรงกลางของตัวมงกุฎ การออกแบบนั้นได้แรงบรรดาลใจจาก นักกวีชาวสหรัฐอเมริกา ที่ชื่อ ราฟ วอลโด อีเมอซัน
- ตัวเกลียวที่อยู่บริเวณรอบๆตัวดอกไม้ แสดงให้เห็นถึงอำนาจและศักดิ์ศรีของเพศหญิง
- คลื่นที่อยู่บริเวณท้ายเชื่อมกับตัวเกลียวของตัวมงกุฎ แสดงให้เห็นถึงความสุภาพ สามัคคี และการร่วมมือกัน
เครื่องประดับ
[แก้]ส่วนนี้ไม่มีการอ้างอิงจากเอกสารอ้างอิงหรือแหล่งข้อมูล โปรดช่วยพัฒนาส่วนนี้โดยเพิ่มแหล่งข้อมูลน่าเชื่อถือ เนื้อหาที่ไม่มีการอ้างอิงอาจถูกคัดค้านหรือนำออก |
นอกจากมงกุฎที่ผู้ชนะและรองทั้ง 3 คนจะได้รับแล้ว ทั้ง 4 คนยังจะได้ชุดเครื่องประดับเป็นของรางวัลอีกหนึ่งอย่างซึ่งชุดเครื่องประดับพวกนี้ถูกสร้างและออกแบบโดย บริษัท โรโมน่า เฮอร์ ไฟน์ จำกัด[ต้องการอ้างอิง] ซึ่งได้แรงบัลดาลใจมาจากขยะ ราคาของชุดเครื่องประดับของผู้ชนะจะประมาณ 250 ดอลล่าห์สหรัฐฯ ส่วนของรองทั้ง 3 นั้นราคาจะประมาณ 10000 ดอลล่าห์สหรัฐฯ ซึ่งตัวเครื่องประดับนั้นจะออกแบบลวดลายตามตำแหน่งที่ได้รับ
- มิสเอิร์ท จะได้รับสร้อยคอและต่างหูที่มี จี้เป็นรูปดอกไม้และตัวของสายนั้นจะเป็นรูปผีเสื้อมีทั้งสีเหลืองและสีขาว อัญมณีที่ใช้เช่น ทัวร์มาลีน บุษราคัม ไพฑูรย์ เพชร และพลอยสังเคราะห์ น้ำหนักรวม 56 กะรัต เพชร 3.0 กะรัต สร้อยคอยาว 17 นิ้ว และต่างหูยาว 3 นิ้ว
- มิสเอิร์ธแอร์ จะได้รับสร้อยคอและต่างหูที่มี ลักษณะเป็นคลื่นและเกลียวมีสีเหลืองและขาว ทอง 14K ประดับด้วยอัญมณีสีและเพชร อัญมณีที่ใช้เป็นพลอยสีเหลืองและทอง มีน้ำหนักรวม 65 กรัม สร้อยคอยาว 17 นิ้ว และต่างหูยาว 3 นิ้ว
- มิสเอิร์ธวอเตอร์ จะได้รับสร้อยคอและต่างหูที่เป็นรูปคลื่นและมีจี้เป็นรูปปลา ประดับด้วยอัญมณีสีเหลืองและฟ้า ไพรินสีน้ำเงิน น้ำหนักรวม 78 กรัม สร้อยยาว 17 นิ้วและต่างหูยาว 3 นิ้ว
- สเอิร์ธไฟเออร์ จะได้รับสร้อยคอและต่างหู เป็นลายประกายไฟจะใช้อัญมณีเป็นเพชรพลอยสีเหลืองและฟ้าและใช้หยกจากประเทศมาเลเซีย ซึ่งน้ำหนักรวมจะประมาณ 87.7 กรัม ซึ่งตัวสร้อยจะยาว 17 นิ้ว และตัวต่างหูยาว 3 นิ้ว
นอกจากนี้ทั้ง 4 คนยังจะได้รับสร้อยคอที่มีสัญลักษณ์ประจำตำแหน่งที่ตัวเองได้ดำรงตำแหน่งอีกด้วย
ผู้ดำรงตำแหน่ง
[แก้]ปี | ประเทศ | ผู้ดำรงตำแหน่ง | สถานที่จัดประกวด | ผู้เข้าประกวด |
---|---|---|---|---|
2024 | ออสเตรเลีย | เจสสิกา เลน (Jessica Lane) | มะนิลา, ฟิลิปปินส์ | 76 |
2023 | แอลเบเนีย | ดรีตา ซีรี (Drita Ziri) | นครโฮจิมินห์, เวียดนาม | 88 |
2022 | เกาหลีใต้ | มีนา ซู ชเว (Mina Sue Choi) | มะนิลา, ฟิลิปปินส์ | 85 |
2021 (ออนไลน์) | เบลีซ | เดซทินี่ย์ แวคเนอร์ (Destiny Wagner) | ฟิลิปปินส์ (ออนไลน์) | 89 |
2020 (ออนไลน์) | สหรัฐ | ลินด์ซีย์ คอฟฟีย์ (Lindsey Coffey) | 84 |
ทำเนียบ
[แก้]ปี | มิสเอิร์ธ | รองชนะเลิศ | ||
---|---|---|---|---|
มิสเอิร์ธแอร์ (รองอันดับ 1) |
มิสเอิร์ธวอเตอร์ (รองอันดับ 2) |
มิสเอิร์ธไฟเออร์ (รองอันดับ 3) | ||
2024 | ออสเตรเลีย เจสสิกา เลน |
ไอซ์แลนด์ Hrafnhildur Haraldsdóttir |
สหรัฐ Bea Millan-Windorski |
เปรู Niva Antezana |
2023 | แอลเบเนีย ดรีตา ซีรี |
ฟิลิปปินส์ อีลีอานา อาดูอานา |
เวียดนาม โด๋ ถิ ลาน อัญ |
ไทย โคร่า เบียลท์ |
2022 | เกาหลีใต้ มีนา ซู ชเว |
ออสเตรเลีย เชอริแดน มอทร็อค |
ปาเลสไตน์ นาดีน อาย็อบ |
โคลอมเบีย แอนเดรีย อาเกียเรียล่า |
2021 | เบลีซ เดซทินี่ย์ แวคเนอร์ |
สหรัฐ มาริสา บัตเลอร์ |
ชิลี โรมินา เดเนคเก้น |
ไทย จรีรัตน์ เพชรโสม |
2020 | สหรัฐ ลินด์ซีย์ คอฟฟีย์ |
เวเนซุเอลา สเตฟานี ซรีค |
ฟิลิปปินส์ ร็อกแซนน์ อัลลิสัน บาเยนส์ |
เดนมาร์ก มิชาลา รูบินสไตน์ |
2019 | ปวยร์โตรีโก เนลลีส์ พิเมนเทล |
สหรัฐ เอมานี แดวิส |
เช็กเกีย คลารา วาฟรุสโควา |
เบลารุส อลิสา มัญโญนก |
2018 | เวียดนาม เหงียน เฟือง คั้ญ |
ออสเตรีย เมลานี แมเดอร์ |
โคลอมเบีย บาเลเรีย อาโยส |
เม็กซิโก มาลิสซา ฟลอเรส |
2017 | ฟิลิปปินส์ กาเรน อิบัสโก |
ออสเตรเลีย นีนา โรเบิร์ตสัน |
โคลอมเบีย ฆูลิอานา ฟรังโก |
รัสเซีย ลาดา อากิโมวา |
2016 | เอกวาดอร์ กาเตริน เอสปิน |
โคลอมเบีย มิเชล โกเมซ |
เวเนซุเอลา สเตฟานี เดอ ซอร์ซี |
บราซิล บรูนา ซานาร์โด (ถอนตัว) |
สหรัฐ คอร์ริน สเตลลาคิส (แทน) | ||||
2015 | ฟิลิปปินส์ อันเจเลีย อง |
ออสเตรเลีย ดายันนา กราเกดา |
สหรัฐ บริตทานี เพยน์ |
บราซิล ธีสซ่า ซิกเคิร์ต |
2014 | ฟิลิปปินส์ เจมี เฮร์เรลล์ |
สหรัฐ แอนเดรีย นิว |
เวเนซุเอลา ไมรา โรดริเกซ |
รัสเซีย อนาสตาเซีย ตรูโซวา |
2013 | เวเนซุเอลา อาลิซ เอนริช |
ออสเตรีย เคเทีย แวคเนอร์ |
ไทย ปุณิกา กุลสุนทรรัตน์ (ถูกปลด) |
เกาหลี แคเธอรินา ชเว |
2012 | เช็กเกีย แตเรซา ไฟก์โซวา |
ฟิลิปปินส์ สเตฟานี สเตฟาโนวิตซ์ |
เวเนซุเอลา ออสมาริเอล บียาโลโบส |
บราซิล กามึลลา แบรนท์ |
2011 | เอกวาดอร์ ออลกา อาลาวา |
บราซิล ดรายลี เบนเน็ตโทน |
ฟิลิปปินส์ อาเธนา อิมพีเรียล |
เวเนซุเอลา กาโรไลน์ เมดินา |
2010 | อินเดีย นิโคล ฟาเรีย |
เอกวาดอร์ เจนนิเฟอร์ ปาซมิญโญ (ถอนตัว) |
ไทย วรรษพร วัฒนากุล |
ปวยร์โตรีโก เยดี บอสเกซ |
รัสเซีย วิกตอเรีย ชูกินา (แทน) | ||||
2009 | บราซิล ลาริสซา รามอส |
ฟิลิปปินส์ แซนดรา ซีเฟอร์ต |
เวเนซุเอลา เจสสิกา บาร์โบซา |
สเปน อเลฆานดรา เอเชบาร์เรีย |
2008 | ฟิลิปปินส์ คาร์ลา เฮนรี |
แทนซาเนีย มิเรียม โอเด็มบา |
เม็กซิโก อาบิเกล เอลิซัลเด |
บราซิล ทาเทียน อัลเวส |
2007 | แคนาดา เจสซิกา ทริสโก |
อินเดีย พูจา ชิตโกเปการ์ |
เวเนซุเอลา ซิลวานา ซานตาเอลลา |
สเปน อังเฆลา โกเมซ |
2006 | ชิลี อิล เอร์นันเดซ |
อินเดีย อัมรุตา ปัตกี |
ฟิลิปปินส์ เคธี อันตาลัน |
เวเนซุเอลา มาริอัน ปูเกลีย |
2005 | เวเนซุเอลา อาเลกซานดรา บราอุน |
สาธารณรัฐโดมินิกัน อาเมล ซานตานา |
โปแลนด์ คาทาริซนา โบโรวิชซ์ |
เซอร์เบียและมอนเตเนโกร โจวานา มายาโนวิช |
2004 | บราซิล ปริสซิลลา เมย์เรลลิส |
มาร์ตีนิก มูริเอลล์ เซลิเมเน |
ตาฮีตี คาฮายา ลูซาจ (สเตฟานี เลซาจ) |
ปารากวัย ยานินา กอนซาเลซ |
2003 | ฮอนดูรัส ดาเนีย ปรินซ์ |
บราซิล ปริสชิลา โปเลเซดู ซานโดนา |
คอสตาริกา มาริอาเนลา เซเลโดน โบลาญโญส |
โปแลนด์ มาร์ตา มัตยาซิค |
2002 | บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา เจลา กลาวอวิช (ถูกปลด) |
ยูโกสลาเวีย สลัดจานา โบโซวิช (เดิมที มิสเอิร์ธวอเตอร์) |
กรีซ จูเลียนา แพทริเซีย ดรอสซู (เดิมที มิสเอิร์ธไฟเออร์) |
ฟินแลนด์ เอลินา เฮอร์ฟ (กลายเป็น มิสเอิร์ธไฟเออร์) |
เคนยา วินเฟรด ออมเวควี (แทน) | ||||
ปี | มิสเอิร์ธ | รองชนะเลิศ | ||
มิสเอิร์ธวินด์ (รองอันดับ 1) |
มิสเอิร์ธวอเตอร์ (รองอันดับ 2) |
มิสเอิร์ธไฟเออร์ (รองอันดับ 3) | ||
2001 | เดนมาร์ก แคทารีนา ซเวนส์เซิน |
บราซิล ซิโมเน เรจิส |
คาซัคสถาน มาร์การิตา ครัชต์โซวา |
อาร์เจนตินา ดานิเอลา สตูกัน |
ทำเนียบมิสเอิร์ธ
[แก้]องค์กรมิสเอิร์ธ
[แก้]องค์กรมิสเอิร์ธ เป็นองค์การในปัจจุบันที่เป็นเจ้าของและดำเนินการประกวดมิสเอิร์ธ และมิสฟิลิปปินส์เอิร์ธ สำนักงานใหญ่อยู่ที่มะนิลา, ฟิลิปปินส์ โดยของเจ้าองค์การคือ Carousel Productions ประธานกองประกวดคนปัจจุบันคือ Ramon Monzon องค์การขายสิทธิทางโทรทัศน์ให้กับการประกวดในประเทศอื่น ๆ
ผู้ครองตำแหน่งองค์กรมิสเอิร์ธ
[แก้]ด้านล่างนี้เป็นรายนามผู้ครองตำแหน่งทั้งหมดขององค์กรมิสเอิร์ธในช่วงหลายปีที่ผ่านมา
ปี | มิสเอิร์ธ | ประเทศ | มิสฟิลิปปินส์เอิร์ธ | จังหวัด | ||
---|---|---|---|---|---|---|
2024 | เจสสิกา เลน | ออสเตรเลีย | Irha Mel Alfeche | ดาเวาเดลซูร์ | ||
2023 | ดรีตา ซีรี | แอลเบเนีย | Yllana Aduana | ลากูนา | ||
2022 | มีนา ซู ชเว | เกาหลีใต้ | Jenny Ramp | ตาร์ลัก | ||
2021 | เดซทินี่ย์ แวคเนอร์ | เบลีซ | Naelah Alshorbaji | ปารานาคิว | ||
2020 | ลินด์ซีย์ คอฟฟีย์ | สหรัฐ | Roxanne Allison Baeyens | บาเกียว | ||
2019 | เนลลีส์ พิเมนเทล | ปวยร์โตรีโก | Janelle Tee | ปาซิก | ||
2018 | เหงียน เฟือง คั้ญ | เวียดนาม | Silvia Celeste Cortesi | โรม | ||
2017 | กาเรน อิบัสโก | ฟิลิปปินส์ | Karen Ibasco | มะนิลา | ||
2016 | กาเตริน เอสปิน | เอกวาดอร์ | Loren Mar Artajos (แทน) | ฮีลากังอีโลโคส | ||
Kiara Giel Gregorio (ลาออก) | ลอนดอน | |||||
Imelda Schweighart (ปลด) | ปาลาวัน | |||||
2015 | อันเจเลีย อง | ฟิลิปปินส์ | Angelia Gabrena Ong | มะนิลา | ||
2014 | เจมี เฮร์เรลล์ | ฟิลิปปินส์ | Jamie Herrell | เซบู | ||
2013 | อาลิซ เอนริช | เวเนซุเอลา | Angelee Claudette delos Reyes | ซัมบาเลส | ||
2012 | แตเรซา ไฟก์โซวา | เช็กเกีย | Stephany Dianne Stefanowitz | มะนิลา | ||
2011 | ออลกา อาลาวา | เอกวาดอร์ | Athena Mae Imperial | เอาโรรา | ||
2010 | นิโคล ฟาเรีย | อินเดีย | Kris Psyche Resus | เคโซน | ||
2009 | ลาริสซา รามอส | บราซิล | Sandra Inez Seifert | คันลูรังเนโกรส | ||
2008 | คาร์ลา เฮนรี | ฟิลิปปินส์ | Karla Paula Henry | เซบู | ||
2007 | เจสซิกา ทริสโก | แคนาดา | Jeanne Harn | รีซัล | ||
2006 | อิล เอร์นันเดซ | ชิลี | Catherine Untalan | มะนิลา | ||
2005 | อาเลกซานดรา บราอุน | เวเนซุเอลา | Genebelle Raagas | ปัมปังกา | ||
2004 | ปริสซิลลา เมย์เรลลิส | บราซิล | Tamera Marie Szijarto | มะนิลา | ||
2003 | ดาเนีย ปรินซ์ | ฮอนดูรัส | Laura Marie Dunlap | ปัมปังกา | ||
2002 | เจลา กลาวอวิช (ปลด) | บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา | April Ross Perez | ตีโมกซัมบวงกา | ||
วินเฟรด ออมเวควี (แทน) | เคนยา | |||||
2001 | แคทารีนา ซเวนส์เซิน | เดนมาร์ก | Carlene Aguilar | มะนิลา |
ดูเพิ่ม
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ New York Times, World News (2003-10-30). "Afghanistan: Anti-Pageant Judges". The New York Times Company. สืบค้นเมื่อ 2009-01-03.
- ↑ News, Reuters (2004-10-25). "Miss Earth 2004 beauty pageant". China Daily. สืบค้นเมื่อ 2007-10-23.
{{cite news}}
:|last=
มีชื่อเรียกทั่วไป (help) - ↑ Palmero, Paul (June 18, 2005). "Pageant History". Pageant Almanac. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ December 12, 2008. สืบค้นเมื่อ January 7, 2008.
{{cite news}}
: CS1 maint: unfit URL (ลิงก์) - ↑ Fullarton, Clair (May 15, 2008). "Beauty queen auctions dress". kilmarnock Standard, United Kingdom, Scottish & Universal Newspapers Limited. สืบค้นเมื่อ January 2, 2009.
- ↑ "Miss Earth 2007". ABS-CBN News. December 18, 2007. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-10-27. สืบค้นเมื่อ January 7, 2008.
- ↑ News Online, Reuters (October 8, 2004). "Contestants of Miss Earth 2004 beauty pageant". The Tribune India. สืบค้นเมื่อ December 15, 2007.
- ↑ Nkurunziza, Sam (March 30, 2008). "The most beautiful girl in the world". The Sunday Times. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ December 13, 2013. สืบค้นเมื่อ September 3, 2012.
- ↑ Gilbert, Julie (July 12, 2014). "Hamilton woman Amy Meisak is hoping to win Miss Earth 2014". Daily Record (Scotland). สืบค้นเมื่อ January 9, 2016.
- ↑ Schuck, Lorraine (September 20, 2012). "Miss Earth winners work hand-in-hand" (PDF). Miss Earth Website. สืบค้นเมื่อ September 24, 2012.
- ↑ "Caerphilly beauty queen takes on the world". South Wales Argus. Gannett Company Newsquest Media (Southern) Ltd. September 18, 2013. สืบค้นเมื่อ July 30, 2022.
- ↑ Steinberg, Jessica. "Miss Earth pulls for Palestine". 3 November 2014. The Times of Israel. สืบค้นเมื่อ January 27, 2016.
- ↑ Sieczkowski, Cavan (December 4, 2011). "Miss Earth 2011 Crowned, Miss Ecuador Wins the Title". International Business Times. BT Media Inc. สืบค้นเมื่อ January 27, 2016.
- ↑ Borja, Tessa (October 17, 2007). "Jennifer Neves is Miss Earth Guam". Marianas Variety News, Guam Edition. สืบค้นเมื่อ September 10, 2008.
- ↑ Waddington, Sarah (September 19, 2014). "Plymouth engineering student hopes to "change the future" by competing for Miss Earth England". The Herald (Plymouth). สืบค้นเมื่อ January 9, 2016.[ลิงก์เสีย]
- ↑ Bobby T., Yalong (January 4, 2016). "A haphazard scrutiny and pragmatic dissertation on Philippine pageantry". Asian Journal. สืบค้นเมื่อ January 9, 2016.
- ↑ Macauley, Richard (November 24, 2015). "China's latest censorship battlefield is global beauty pageants". Quartz. Goldman Sachs. สืบค้นเมื่อ January 27, 2016.