ฟุตบอลทีมชาติสเปนรุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี
ฉายา | ลาโรฆิตา (เจ้าแดงน้อย) ลาฟูริอาโรฆา (ความโกรธสีแดง) | ||
---|---|---|---|
สมาคม | ราชสหพันธ์ฟุตบอลสเปน (เอร์เรเฟฟ) | ||
สมาพันธ์ | ยูฟ่า (ยุโรป) | ||
ติดทีมชาติสูงสุด | ลุยส์ เอนริเก (14) | ||
ทำประตูสูงสุด | กิโก (7) | ||
รหัสฟีฟ่า | ESP | ||
| |||
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก | |||
ยูโกสลาเวีย 3–0 สเปน (นอวีซาด ยูโกสลาเวีย; 18 มิถุนายน ค.ศ. 1969) | |||
ชนะสูงสุด | |||
สเปน 5–0 ลิเบีย (เอลเอฆิโด สเปน; 1 กรกฎาคม ค.ศ. 2005) | |||
แพ้สูงสุด | |||
อาร์เจนตินา 4–0 สเปน (เบอร์มิงแฮม สหรัฐ; 27 กรกฎาคม ค.ศ. 1996) | |||
โอลิมปิกฤดูร้อน | |||
เข้าร่วม | 6 (ครั้งแรกใน 1992) | ||
ผลงานดีที่สุด | ชนะเลิศ (1992, 2024) | ||
เมดิเตอร์เรเนียนเกมส์ | |||
เข้าร่วม | 4 (ครั้งแรกใน 1997) | ||
ผลงานดีที่สุด | ชนะเลิศ (2005, 2009, 2018) | ||
ฟุตบอลโอลิมปิกทีมชาติสเปน (หรือเรียกว่า สเปน อายุไม่เกิน 23 ปี หรือ สเปนยู-23) เป็นตัวแทนของประเทศสเปน ในการแข่งขันฟุตบอลชายรุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี ซึ่งรวมถึงทีมชุดที่แข่งขันในกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน ซึ่งในรายการนี้จะอนุญาตให้มีผู้เล่นเกินอายุได้สามคน ปัจจุบันอยู่ภายใต้การดูแลของราชสหพันธ์ฟุตบอลสเปน โดยสเปนเคยประสบความสำเร็จในการผ่านเข้ารอบโอลิมปิก 6 ครั้งนับตั้งแต่ปี ค.ศ. 1992 สเปนเคยได้รับเหรียญทอง 2 ครั้งในปี ค.ศ. 1992 ที่บาร์เซโลนา และค.ศ. 2024 ที่ปารีส และเหรียญเงินในปี ค.ศ. 2000 และ 2020
รายชื่อผู้เล่น
[แก้]ผู้เล่นต่อไปนี้ได้รับการเสนอชื่อให้เข้าร่วมทีมเพื่อแข่งขัน โอลิมปิกฤดูร้อน 2020[2]
# | ตำแหน่ง | ผู้เล่น | วันเกิด (อายุ) | ลงเล่น | ประตู | สโมสร |
---|---|---|---|---|---|---|
GK | อูไน ซิมอน | 11 มิถุนายน ค.ศ. 1997 | 7 | 0 | อัตเลติกบิลบาโอ | |
GK | อัลบาโร เฟร์นันเดซ | 13 เมษายน ค.ศ. 1998 | 1 | 0 | อูเอสกา | |
GK | อิวัน บิลลาร์ | 30 กรกฎาคม ค.ศ. 1998 | 0 | 0 | เซลตา | |
DF | โอสการ์ มิงเกซา | 13 พฤษภาคม ค.ศ. 1999 | 3 | 0 | บาร์เซโลนา | |
DF | เฆซุส บาเยโฆ | 5 มิถุนายน ค.ศ. 1997 | 5 | 0 | เรอัลมาดริด | |
DF | เอริก การ์ซิอา | 9 มกราคม ค.ศ. 2001 | 7 | 0 | บาร์เซโลนา | |
DF | เปา ตอร์เรส | 16 มกราคม ค.ศ. 1997 | 7 | 0 | บิยาร์เรอัล | |
DF | โอสการ์ ฆิล | 26 เมษายน ค.ศ. 1998 | 5 | 0 | อัสปัญญ็อล | |
DF | มาร์ก กูกูเรยา | 22 กรกฎาคม ค.ศ. 1998 | 6 | 0 | เฆตาเฟ | |
DF | ฆวน มิรันดา | 19 มกราคม ค.ศ. 2000 | 5 | 0 | เรอัลเบติส | |
MF | ยอน มองกาโยลา | 13 พฤษภาคม ค.ศ. 1998 | 6 | 0 | โอซาซูนา | |
MF | มาร์ติน ซูบิเมนดิ | 2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1999 | 6 | 0 | เรอัลโซซิเอดัด | |
MF | ดานิ เซบาโยส | 7 สิงหาคม ค.ศ. 1996 | 2 | 0 | เรอัลมาดริด | |
MF | มิเกล เมริโน | 22 มิถุนายน ค.ศ. 1996 | 6 | 1 | เรอัลโซซิเอดัด | |
MF | การ์โลส โซเลร์ | 2 มกราคม ค.ศ. 1997 | 7 | 1 | บาเลนเซีย | |
MF | เปดริ | 25 พฤศจิกายน ค.ศ. 2002 | 7 | 0 | บาร์เซโลนา | |
FW | ฆาบิ ปัวโด | 25 พฤษภาคม ค.ศ. 1998 | 3 | 0 | อัสปัญญ็อล | |
FW | บรายัน ฆิล | 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2001 | 6 | 0 | เซบิยา | |
FW | มาร์โก อาเซนซิโอ | 21 มกราคม ค.ศ. 1996 | 7 | 1 | เรอัลมาดริด | |
FW | ดานิ โอลโม | 7 พฤษภาคม ค.ศ. 1998 | 7 | 1 | แอร์เบ ไลพ์ซิช | |
FW | มิเกล โอยาร์ซาบัล | 21 เมษายน ค.ศ. 1997 | 7 | 3 | เรอัลโซซิเอดัด | |
FW | ราฟา มีร์ | 18 มิถุนายน ค.ศ. 1997 | 7 | 3 | วุลเวอร์แฮมป์ตัน |
สถิติ
[แก้]ผู้เล่นที่ลงเล่นสูงสุด
[แก้]อันดับ | ผู้เล่น | สโมสร | ปี | ลงเล่น |
---|---|---|---|---|
1 | ลุยส์ เอนริเก | เอสปอร์ตินเดฆิฆอน, เรอัลมาดริด | 1991–1992 | 14 |
2 | มิเกล ลาซา | เรอัลโซซิเอดัด, เรอัลมาดริด | 1991–1992 | 13 |
3 | อาเบลาร์โด | เอสปอร์ตินเดฆิฆอน | 1991–1992 | 12 |
แป็ป กวาร์ดิออลา | บาร์เซโลนา | 1991–1992 | 12 | |
กิโก | กาดิซ | 1991–1992 | 12 | |
โรเบร์โต โซโลซาบัล | อัตเลติโกมาดริด | 1991–1992 | 12 | |
7 | อัลฟอนโซ | เรอัลมาดริด | 1991–1992 | 11 |
ปาโก โซเลร์ | มายอร์กา | 1991–1992 | 11 | |
9 | โฆอากิน | เอสปอร์ตินเดฆิฆอน | 1979–1982 | 8 |
ฆวน มานูเอล อาเซนซิ | เอลเช, บาร์เซโลนา | 1969–1971 | 8 | |
ราฟาเอล เบร์เฆส | กอร์โดบา, เตเนริเฟ | 1991–1992 | 8 | |
โตนิ | ฟิเกรัส | 1992 | 8 | |
อันโตนิโอ ปินิยา | เอสปอร์ตินเดฆิฆอน | 1991–1992 | 8 |
หมายเหตุ: สโมสร หมายถึงเป็นตัวแทนของสโมสรอย่างถาวรในช่วงที่ลงเล่นทีมชาติสเปนรุ่นอายุต่ำกว่า 23 ปี
ผู้ทำประตูสูงสุด
[แก้]อันดับ | ผู้เล่น | สโมสร | ปี | จำนวนประตู |
---|---|---|---|---|
1 | อัลฟอนโซ | เรอัลมาดริด | 1991–1992 | 6 |
2 | อาเบลาร์โด | เอสปอร์ตินเดฆิฆอน | 1991–1992 | 5 |
3 | รามอน บัซเกซ | เซบิยา | 1987–1988 | 4 |
4 | กาบริ | บาร์เซโลนา | 2000 | 3 |
ลุยซ์ เอนริเก | เอสปอร์ตินเดฆิฆอน, เรอัลมาดริด | 1991–1992 | 3 | |
การ์ลัส ราชัก | กอนดัล, บาร์เซโลนา | 1967–1970 | 3 | |
โฆเซ มาริ | เอซี มิลาน | 2000 | 3 | |
ราฟา มีร์ | วุลเวอร์แฮมป์ตันวอนเดอเรอส์ | 2021 | 3 | |
บาบา | เอลเช | 1967 | 3 | |
มิเกล โอยาร์ซาบัล | เรอัลโซซิเอดัด | 2021 | 3 |
หมายเหตุ: สโมสร หมายถึงเป็นตัวแทนของสโมสรอย่างถาวรในช่วงที่ลงเล่นทีมชาติสเปนรุ่นอายุต่ำกว่า 23 ปี
เกียรติประวัติ
[แก้]- เหรียญทอง: บาร์เซโลนา 1992
- เหรียญเงิน: ซิดนีย์ 2000, โตเกียว 2020
สถิติการแข่งขัน
[แก้]โอลิมปิกเกมส์
[แก้]สถิติในกีฬาโอลิมปิก | ||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ปี | รอบ | อับดับ | แข่ง | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ผู้เล่น | |
1992 | เหรียญทอง | 1 | 6 | 6 | 0 | 0 | 14 | 2 | ผู้เล่น | |
1996 | รอบก่อนรองชนะเลิศ | 5 | 4 | 2 | 1 | 1 | 5 | 7 | ผู้เล่น | |
2000 | เหรียญเงิน | 2 | 6 | 4 | 1 | 1 | 12 | 6 | ผู้เล่น | |
2004 | ไม่ผ่านรอบคัดเลือก | |||||||||
2008 | ||||||||||
2012 | รอบแบ่งกลุ่ม | 14 | 3 | 0 | 1 | 2 | 0 | 2 | ผู้เล่น | |
2016 | ไม่ผ่านรอบคัดเลือก | |||||||||
2020 | เหรียญเงิน | 2 | 6 | 3 | 2 | 1 | 9 | 5 | ผู้เล่น | |
2024 | ||||||||||
รวม | 1 เหรียญทอง | 4/7 | 19 | 12 | 3 | 4 | 31 | 17 | – |
สถิติในโอลิมปิกฤดูร้อน | |||||
---|---|---|---|---|---|
ลงเล่นครั้งแรก | (24 กรกฎาคม 1992; บาเลนเซีย, สเปน) | ||||
ชนะสูงสุด | (24 กรกฎาคม 1992; บาเลนเซีย, สเปน) | ||||
แพ้สูงสุด | (27 กรกฎาคม 1996; เบอร์มิงแฮม, สหรัฐ) | ||||
ผลงานดีที่สุด | |||||
ผลงานที่แย่ที่สุด |
- หากเสมอกันในเวลาและต้องดวลลูกโทษตัดสิน จะถือว่าเป็นผลเสมอ
- สีพื้นหลังสีทองแสดงถึงการจบอันดับที่หนึ่ง สีพื้นหลังสีเงินแสดงถึงการจบอันดับที่สอง *ขอบสีแดงแสดงว่าจัดการแข่งขันที่สเปน
ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี (ชาเลนจ์คัพ)
[แก้]เป็นการแข่งขันแบบเดียวกับชิงแชมป์เข็มขัดมวย ผู้ถือครองแชมป์ฝ่ายตรงข้ามจะได้รับการสุ่มเลือกทีมที่จะแข่งขันด้วยเพื่อชิงแชมป์สมัยถัดมา
วันที่ | ผู้ชนะ | รองชนะเลิศ | สนาม |
18 มิถุนายน ค.ศ. 1969 | ยูโกสลาเวีย | สเปน | นอวีซาด ยูโกสลาเวีย |
ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี
[แก้]ปี | รอบ | แข่ง | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย |
---|---|---|---|---|---|---|---|
1972 | รอบแบ่งกลุ่ม | 2 | 0 | 1 | 1 | 2 | 3 |
1974 | ไม่ผ่านรอบคัดเลือก | ||||||
1976 | |||||||
รวม | 0/3 | 2 | 0 | 1 | 1 | 2 | 3 |
เมดิเตอร์เรเนียนเกมส์
[แก้]สถิติในเมดิเตอร์เรเนียนเกมส์ | ||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ปี | รอบ | อันดับ | แข่ง | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย |
2005 | เหรียญทอง | 1 | 4 | 3 | 1 | 0 | 9 | 1 |
รวม | 1 เหรียญทอง | 1/1 | 4 | 3 | 1 | 0 | 9 | 1 |
ดูเพิ่ม
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ Since 1992, squads for Football at the Summer Olympics have been restricted to three players over the age of 23. The achievements of such teams are not usually included in the statistics of the international team.
- ↑ | OFICIAL | Estos son los internacionales que representarán a España en Tokio เก็บถาวร 2021-07-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. SEFútbol (in Spanish). 29 June 2021. Retrieved 29 June 2021
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- siemprecantera เก็บถาวร 2011-06-11 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (ในภาษาสเปน)
- สถิติย้อนหลัง ที่ยูฟ่า.คอม
- ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี ที่ อาร์เอสเอสเอสเอฟ