ข้ามไปเนื้อหา

กีฬาฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 2020

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟุตบอล
ในโอลิมปิกฤดูร้อน 2020
รายละเอียด
การแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 2020
เจ้าภาพญี่ปุ่น
วันที่21 กรกฎาคม – 7 สิงหาคม 2021
สนาม6 (ใน 6 เมือง)
จำนวนนักฟุตบอล608 คน (จาก 24 ชาติ)
การแข่งขันฟุตบอลชาย
จำนวนทีม16 (จาก 6 สมาพันธ์)
เหรียญรางวัล
1 เหรียญทองธงชาติบราซิล บราซิล
2 เหรียญเงินธงชาติสเปน สเปน
3 เหรียญทองแดงธงชาติเม็กซิโก เม็กซิโก
การแข่งขันฟุตบอลหญิง
จำนวนทีม12 (จาก 6 สมาพันธ์)
เหรียญรางวัล
1 เหรียญทองธงชาติแคนาดา แคนาดา
2 เหรียญเงินธงชาติสวีเดน สวีเดน
3 เหรียญทองแดงธงชาติสหรัฐ สหรัฐ
ลำดับเหตุการณ์
2016
2024

การแข่งขันกีฬาฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 2020 มีกำหนดแข่งขันระหว่างวันที่ 22 กรกฎาคม ถึง 7 สิงหาคม ค.ศ. 2020 [1]

นอกจาก การแข่งขันที่จะขึ้นในเมืองเจ้าภาพอย่าง โตเกียว แล้วยังมีนัดอื่น ๆ ที่จะแข่งขันในเมือง คาชิมะ, ไซตามะ, ซัปโปโระ, เซ็นได, และโยโกฮามะ.[2]

สมาคมที่เกี่ยวข้องกับฟีฟ่าที่ส่งทีมเข้าร่วมการแข่งขันจะไม่มีการจำกัดอายุสำหรับทีมหญิง ในขณะที่ทีมชายจะจำกัดเฉพาะผู้เล่นที่อายุต่ำกว่า 24 ปี (เกิดในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1997) โดยอนุญาตให้มีผู้เล่นอายุเกินได้สูงสุดสามคน[3] โดยทั่วไปแล้ว การแข่งขันประเภทชายจะจำกัดให้เล่นเฉพาะผู้เล่นอายุต่ำกว่า 23 ปี แม้ว่าภายหลังการเลื่อนการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกออกไปหนึ่งปี ฟีฟ่าตัดสินใจที่จะคงข้อจำกัดให้ผู้เล่นที่เกิดในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1997 ลงเล่นได้เช่นเดิม[4] ในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2020 ฟีฟ่า ได้ตัดสินใจนำเทคโนโลยีผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ (VAR) มาใช้ช่วยตัดสินซึ่งนับเป็นครั้งแรกที่มีการนำมาใช้ในกีฬาโอลิมปิก[5]

บราซิล คือแชมป์เก่าของการแข่งขันทีมชายจากปี ค.ศ. 2016 ที่ชาติของเขาเป็นเจ้าภาพ และได้กลับมาลงเล่นในปีนี้หลังเป็นรองแชมป์รายการปรีโอลิมปิกคอนเมบอล ขณะที่ เยอรมนี คือแชมป์เก่าของการแข่งขันทีมหญิง แต่ไม่สามารถเป็นสามทีมที่ดีที่สุดของทวีปยุโรปในฟุตบอลโลกหญิง 2019ได้ซึ่งจะได้สิทธิ์มาแข่งขันในโอลิมปิกครั้งนี้ได้ หลังตกรอบก่อนรองชนะเลิศ จากการพ่ายแพ้ต่อสวีเดน

ปฏิทินการแข่งขัน

[แก้]
สัญลักษณ์
G รอบแบ่งกลุ่ม ¼ รอบก่อนรองชนะเลิศ ½ รองรองชนะเลิศ B รอบชิงเหรียญทองแดง F รอบชิงเหรียญทอง
วันที่
ประเภท
พุธ 22 พฤหัสบดี 23 ศุกร์ 24 เสาร์ 25 อาทิตย์ 26 จันทร์ 27 อังคาร 28 พุธ 29 พฤหัสบดี 30 ศุกร์ 31 เสาร์ 1 อาทิตย์ 2 จันทร์ 3 อังคาร 4 พุธ 5 พฤหัสบดี 6 ศุกร์ 7 เสาร์ 8
ชาย G G G ¼ ½ B F
หญิง G G G ¼ ½ B F

สนามแข่งขัน

[แก้]

ใช้สนามแข่งขันทั้งสิ้น 7 สนามใน 5 เมือง ได้แก่:[2]

โตเกียว โชฟุ ไซตามะ โยโกฮามะ
กรีฑาสถานแห่งชาติ สนามกีฬาโตเกียว สนามกีฬาไซตามะ สนามกีฬานานาชาติโยโกฮามะ
ความจุ: 60,102
ความจุ: 48,000
ความจุ: 62,000
ความจุ: 70,000
คาชิมะ
สนามฟุตบอลคาชิมะอิบารากิ[6]
ความจุ: 42,000
ริฟุ
สนามกีฬามิยางิ
ความจุ: 48,000
ซัปโปโระ
ซัปโปโระโดม
ความจุ: 42,000

การคัดเลือก

[แก้]

ทีมชาย

[แก้]

ทีมชายมีทีมเข้าแข่งขันทั้งหมด 16 ทีม โดยแบ่งเป็นบราซิล ซึ่งเป็นเจ้าภาพ และอีก 15 ทีม จาก 6 สมาพันธ์ฟุตบอล[7]

การคัดเลือก อ้างอิง วันที่1 ประเทศที่จัดแข่งขัน1 จำนวนทีม ทีมที่เข้ารอบ
เจ้าภาพ 7 กันยายน 2013 1 ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป รุ่นอายุไม่เกิน 21 ปี 2019 [8] 16–30 มิถุนายน 2019  อิตาลี
 ซานมารีโน
4 ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส
ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี
ธงชาติโรมาเนีย โรมาเนีย
ธงชาติสเปน สเปน
ฟุตบอลชายโอลิมปิกรอบคัดเลือก โอเอฟซี 2019 [9] 21 กันยายน – 5 ตุลาคม 2019  ฟีจี 1 ธงชาตินิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์
ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติแอฟริกา รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2019 [10] 8–22 พฤศจิกายน 2019  อียิปต์ 3 ธงชาติอียิปต์ อียิปต์
ธงชาติโกตดิวัวร์ โกตดิวัวร์
ธงชาติแอฟริกาใต้ แอฟริกาใต้
ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี 2020 [11] 8–26 มกราคม 2020  ไทย 3 ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้
ธงชาติซาอุดีอาระเบีย ซาอุดีอาระเบีย
ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
ฟุตบอลปรีโอลิมปิกคอนเมบอล 2020 [12] 18 มกราคม – 9 กุมภาพันธ์ 2020  โคลอมเบีย 2 ธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา
ธงชาติบราซิล บราซิล
ฟุตบอลชายโอลิมปิกรอบคัดเลือก 2020 โซนคอนคาแคฟ [13] 20 มีนาคม – 1 เมษายน 2020  เม็กซิโก 2 ธงชาติฮอนดูรัส ฮอนดูรัส
ธงชาติเม็กซิโก เม็กซิโก
รวม   16
  • ^1 วันที่และประเทศที่จัดการแข่งขันในการแข่งขันรอบสุดท้าย ส่วนในการแข่งขันรอบแรกอาจแข่งขันในสถานที่ที่แตกต่างกัน
  • ^2 การแข่งขันโอลิมปิกครั้งแรก
  • ^3 การแข่งขันจัดในโคลอมเบียและสหรัฐอเมริกา

ทีมหญิง

[แก้]

ทีมชายมีทีมเข้าแข่งขันทั้งหมด 12 ทีม โดยแบ่งเป็นบราซิล ซึ่งเป็นเจ้าภาพ และอีก 11 ทีม จาก 6 สมาพันธ์ฟุตบอล[7]

สหราชอาณาจักรมีคุณสมบัติสำหรับการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกจากผลงานของทีมชาติอังกฤษในฟุตบอลโลกหญิง 2019 ซึ่งเป็นครั้งแรกตามข้อตกลงระหว่างสมาคมฟุตบอลในสหราชอาณาจักรทั้งสี่แห่ง (อังกฤษ ไอร์แลนด์เหนือ สกอตแลนด์ และเวลส์) (เป็นขั้นตอนที่สหราชอาณาจักรใช้ในกีฬาฮอกกี้สนามและรักบี้เช่นกัน)

การคัดเลือก อ้างอิง วันที่1 ประเทศที่จัดแข่งขัน1 จำนวนทีม ทีมที่เข้ารอบ
เจ้าภาพ 7 กันยายน 2013 1 ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
โกปาอาเมริกาหญิง 2018 [14] 4–22 เมษายน 2018  ชิลี 1 ธงชาติบราซิล บราซิล
โอเอฟซีเนชันส์คัพหญิง 2018 [15] 18 พฤศจิกายน – 1 ธันวาคม 2018  นิวแคลิโดเนีย 1 ธงชาตินิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์
ฟุตบอลโลกหญิง 2019
(ถือเป็นรอบคัดเลือกของโซนยุโรป)
[16] 7 มิถุนายน – 7 กรกฎาคม 2019  ฝรั่งเศส 3 ธงชาติสหราชอาณาจักร บริเตนใหญ่
ธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์
ธงชาติสวีเดน สวีเดน
ฟุตบอลหญิงโอลิมปิกรอบคัดเลือก 2020 โซนคอนคาแคฟ [17] 28 มกราคม – 9 กุมภาพันธ์ 2020  สหรัฐ 2 ธงชาติแคนาดา แคนาดา
ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ
ฟุตบอลหญิงโอลิมปิกรอบคัดเลือก ซีเอเอฟ 2020 [18] 5–10 มีนาคม 2020 Various 1 ธงชาติแซมเบีย แซมเบีย
ฟุตบอลหญิงโอลิมปิกรอบคัดเลือก เอเอฟซี 2020 [19] 6–11 มีนาคม 2020 และ 8–13 เมษายน 2021 Various 2 ธงชาติจีน จีน
ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
เพลย์ออฟ 10–13 เมษายน 2021 Various 1 ธงชาติชิลี ชิลี
รวม   12  
  • ^4 วันที่และประเทศที่จัดการแข่งขันในการแข่งขันรอบสุดท้าย ส่วนในการแข่งขันรอบแรกอาจแข่งขันในสถานที่ที่แตกต่างกัน
  • ^6 การแข่งขันโอลิมปิกครั้งแรก

สรุปเหรียญรางวัล

[แก้]

ตารางเหรียญรางวัล

[แก้]
ลำดับที่ประเทศทองเงินทองแดงรวม
1 แคนาดา1001
บราซิล1001
3 สวีเดน0101
สเปน0101
5 เม็กซิโก0011
สหรัฐ0011
รวม (6 ประเทศ)2226

ผู้ได้รับเหรียญรางวัล

[แก้]
การแข่งขัน เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
ชาย
รายละเอียด
บราซิล (BRA)
Santos
Gabriel Menino
Diego Carlos
Ricardo Graça
Douglas Luiz
Guilherme Arana
Paulinho
บรูนู กีมาไรส์
Matheus Cunha
รีชาร์ลีซง
Antony
Brenno
ดานีแยล อัลวิส
Bruno Fuchs
Nino
Abner
มัลกง
Matheus Henrique
Reinier
Claudinho
Gabriel Martinelli
Lucão
สเปน (ESP)
อูไน ซิมอน
โอสการ์ มิงเกซา
มาร์ก กูกูเรยา
เปา ตอร์เรส
Jesús Vallejo
มาร์ติน ซูบิเมนดิ
มาร์โก อาเซนซิโอ
มิเกล เมริโน
Rafa Mir
ดานิ เซบาโยส
มิเกล โอยาร์ซาบัล
เอริก การ์ซิอา
Álvaro Fernández
การ์โลส โซเลร์
Jon Moncayola
เปดริ
Javi Puado
Óscar Gil
ดานิ โอลโม
Juan Miranda
Bryan Gil
Iván Villar
เม็กซิโก (MEX)
Luis Malagón
Jorge Sánchez
César Montes
Jesús Angulo
Johan Vásquez
Vladimir Loroña
Luis Romo
Carlos Rodríguez
Henry Martín
Diego Lainez
Alexis Vega
Adrián Mora
กิเยร์โม โอโชอา
Érick Aguirre
Uriel Antuna
José Joaquín Esquivel
Sebastián Córdova
Eduardo Aguirre
Ricardo Angulo
Fernando Beltrán
Roberto Alvarado
Sebastián Jurado
หญิง
รายละเอียด
แคนาดา (CAN)
Stephanie Labbé
Allysha Chapman
Kadeisha Buchanan
Shelina Zadorsky
Quinn
Deanne Rose
Julia Grosso
Jayde Riviere
Adriana Leon
Ashley Lawrence
Desiree Scott
Christine Sinclair
Évelyne Viens
Vanessa Gilles
Nichelle Prince
Janine Beckie
Jessie Fleming
Kailen Sheridan
จอร์ดิน ไฮทิมา
Sophie Schmidt
Gabrielle Carle
Erin McLeod
สวีเดน (SWE)
Hedvig Lindahl
Jonna Andersson
Emma Kullberg
Hanna Glas
Hanna Bennison
Magdalena Eriksson
Madelen Janogy
Lina Hurtig
Kosovare Asllani
Sofia Jakobsson
Stina Blackstenius
Jennifer Falk
Amanda Ilestedt
Nathalie Björn
Olivia Schough
Filippa Angeldal
Caroline Seger
Fridolina Rolfö
Anna Anvegård
Julia Roddar
Rebecka Blomqvist
Zećira Mušović
สหรัฐ (USA)
Alyssa Naeher
Crystal Dunn
Sam Mewis
Becky Sauerbrunn
Kelley O'Hara
Kristie Mewis
Tobin Heath
Julie Ertz
Lindsey Horan
Carli Lloyd
Christen Press
Tierna Davidson
Alex Morgan
Emily Sonnett
เมแกน ราพิโน
Rose Lavelle
Abby Dahlkemper
Adrianna Franch
Catarina Macario
Casey Krueger
Lynn Williams
Jane Campbell

การแข่งขันทีมชาย

[แก้]

รอบแบ่งกลุ่ม

[แก้]

กลุ่ม เอ

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น (H) 3 3 0 0 7 1 +6 9 ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก
2 ธงชาติเม็กซิโก เม็กซิโก 3 2 0 1 8 3 +5 6
3 ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 3 1 0 2 5 11 −6 3
4 ธงชาติแอฟริกาใต้ แอฟริกาใต้ 3 0 0 3 3 8 −5 0
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
(H) เจ้าภาพ.

กลุ่ม บี

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 3 2 0 1 10 1 +9 6 ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก
2 ธงชาตินิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์ 3 1 1 1 3 3 0 4
3 ธงชาติโรมาเนีย โรมาเนีย 3 1 1 1 1 4 −3 4
4 ธงชาติฮอนดูรัส ฮอนดูรัส 3 1 0 2 3 9 −6 3
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า

กลุ่ม ซี

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติสเปน สเปน 3 1 2 0 2 1 +1 5 ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก
2 ธงชาติอียิปต์ อียิปต์ 3 1 1 1 2 1 +1 4
3 ธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา 3 1 1 1 2 3 −1 4
4 ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 3 1 0 2 2 3 −1 3
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า

กลุ่ม ดี

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติบราซิล บราซิล 3 2 1 0 7 3 +4 7 ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก
2  โกตดิวัวร์ 3 1 2 0 3 2 +1 5
3 ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี 3 1 1 1 6 7 −1 4
4  ซาอุดีอาระเบีย 3 0 0 3 4 8 −4 0
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า

รอบแพ้คัดออก

[แก้]
 
รอบก่อนรองชนะเลิศรอบรองชนะเลิศรอบชิงเหรียญทอง
 
          
 
31 กรกฎาคม – โยโกฮามะ
 
 
 เกาหลีใต้3
 
3 สิงหาคม – คาชิมะ
 
 เม็กซิโก6
 
 เม็กซิโก0 (1)
 
31 กรกฎาคม – ไซตามะ
 
 บราซิล
(ลูกโทษ)
0 (4)
 
 บราซิล1
 
7 สิงหาคม – โยโกฮามะ
 
 อียิปต์0
 
 บราซิล
(ต่อเวลา)
2
 
31 กรกฎาคม – คาชิมะ
 
 สเปน1
 
 ญี่ปุ่น
(ลูกโทษ)
0 (4)
 
3 สิงหาคม – ไซตามะ
 
 นิวซีแลนด์0 (2)
 
 ญี่ปุ่น0
 
31 กรกฎาคม – ริฟุ
 
 สเปน
(ต่อเวลา)
1 รอบชิงเหรียญทองแดง
 
 สเปน
(ต่อเวลา)
5
 
6 สิงหาคม – ไซตามะ
 
 โกตดิวัวร์2
 
 เม็กซิโก3
 
 
 ญี่ปุ่น1
 

การแข่งขันทีมหญิง

[แก้]

รอบแบ่งกลุ่ม

[แก้]

กลุ่ม อี

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติสหราชอาณาจักร บริเตนใหญ่ 3 2 1 0 4 1 +3 7 ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก
2 ธงชาติแคนาดา แคนาดา 3 1 2 0 4 3 +1 5
3 ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น (H) 3 1 1 1 2 2 0 4
4 ธงชาติชิลี ชิลี 3 0 0 3 1 5 −4 0
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
(H) เจ้าภาพ.

กลุ่ม เอฟ

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ 3 2 1 0 21 8 +13 7 ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก
2 ธงชาติบราซิล บราซิล 3 2 1 0 9 3 +6 7
3 ธงชาติแซมเบีย แซมเบีย 3 0 1 2 7 15 −8 1
4 ธงชาติจีน จีน 3 0 1 2 6 17 −11 1
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า

กลุ่ม จี

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติสวีเดน สวีเดน 3 3 0 0 9 2 +7 9 ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก
2 ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ 3 1 1 1 6 4 +2 4
3 ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 3 1 1 1 4 5 −1 4
4 ธงชาตินิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์ 3 0 0 3 2 10 −8 0
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า

รอบแพ้คัดออก

[แก้]
 
รอบก่อนรองชนะเลิศรอบรองชนะเลิศรอบชิงเหรียญทอง
 
          
 
30 กรกฎาคม – คาชิมะ
 
 
ธงชาติสหราชอาณาจักร บริเตนใหญ่3
 
2 สิงหาคม – โยโกฮามะ
 
ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
(ต่อเวลา)
4
 
ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย0
 
30 กรกฎาคม – ไซตามะ
 
ธงชาติสวีเดน สวีเดน1
 
ธงชาติสวีเดน สวีเดน3
 
6 สิงหาคม – โยโกฮามะ
 
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น1
 
ธงชาติสวีเดน สวีเดน1 (2)
 
30 กรกฎาคม – โยโกฮามะ
 
ธงชาติแคนาดา แคนาดา
(ลูกโทษ)
1 (3)
 
ธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์2 (2)
 
2 สิงหาคม – คาชิมะ
 
ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ
(ลูกโทษ)
2 (4)
 
ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ0
 
30 กรกฎาคม – ริฟุ
 
ธงชาติแคนาดา แคนาดา1 รอบชิงเหรียญทองแดง
 
ธงชาติแคนาดา แคนาดา
(ลูกโทษ)
0 (4)
 
5 สิงหาคม – คาชิมะ
 
ธงชาติบราซิล บราซิล0 (3)
 
ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย3
 
 
ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ4
 

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Tokyo 2020 Olympic Football Tournament: Match Schedule" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. สืบค้นเมื่อ 6 February 2020.
  2. 2.0 2.1 "Olympic sport football". tokyo2020.jp. 21 November 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-11-21. สืบค้นเมื่อ 21 November 2016.
  3. "Regulations for the Olympic Football Tournaments Tokyo 2020" (PDF). FIFA.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-05-18. สืบค้นเมื่อ 2021-07-13.
  4. "Dedicated COVID-19 working group proposes recommendations after first meeting". FIFA. 3 April 2020. สืบค้นเมื่อ 4 April 2020.
  5. "FIFA Council unanimously approves COVID-19 Relief Plan". FIFA. 25 June 2020. สืบค้นเมื่อ 25 June 2020.
  6. "Olympic Sports : Football". The Tokyo Organising Committee of the Olympic and Paralympic Games. สืบค้นเมื่อ 6 May 2019.
  7. 7.0 7.1 "FIFA ratifies the distribution of seats corresponding to each confederation". CONMEBOL.com. 4 April 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-11-05. สืบค้นเมื่อ 5 November 2014.
  8. "Under-21 EURO 2019: all you need to know". uefa.com. 16 October 2018.
  9. "Olympic Qualifier Draw complete". Oceania Football Confederation. 7 May 2019.
  10. "CAF confirms 2019 Total U-23 Africa Cup of Nations in Egypt will be played in November". Ghana Soccernet. 29 September 2018.
  11. "FA Thailand proposed as 2020 AFC U-23 Championship host". AFC. สืบค้นเมื่อ 30 August 2018.
  12. "Colombia será sede del Campeonato Sudamericano Preolímpico Sub-23 del 2020". conmebol.com. 14 August 2018.
  13. "Guadalajara Set to Host the 2020 Concacaf Men's Olympic Qualifying Tournament". www.concacaf.com (ภาษาอังกฤษ). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-08-22. สืบค้นเมื่อ 2019-08-22.
  14. "La Copa América Femenina se celebrará del 4 al 22 de abril". CONMEBOL.com. 21 July 2017.
  15. "OFC Women's Nations Cup confirmed". Oceania Football Confederation. 12 March 2018.
  16. "FIFA Women's World Cup fixtures/results". UEFA.com. 16 June 2019.
  17. "United States Set to Host 2020 CONCACAF Women's Olympic Qualifying Tournament". CONCACAF. Miami. 5 November 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-11-05. สืบค้นเมื่อ 5 November 2019.
  18. "Tokyo 2020: Sierra Leone disqualified, Angola withdraws". CAF. 5 March 2019.
  19. "Asia's elite set to vie for two Tokyo 2020 tickets". Asian Football Confederation. 2 August 2018. สืบค้นเมื่อ 16 August 2018.