กีฬาฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 2020 – ทีมชาย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กีฬาฟุตบอลชายในโอลิมปิกฤดูร้อน
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพญี่ปุ่น
วันที่22 กรกฎาคม – 7 สิงหาคม 2021
ทีม16 (จาก 6 สมาพันธ์)
สถานที่(ใน 6 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศ บราซิล (สมัยที่ 2)
รองชนะเลิศ สเปน
อันดับที่ 3 เม็กซิโก
อันดับที่ 4 ญี่ปุ่น
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน31
จำนวนประตู90 (2.9 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม14,291 (461 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดบราซิล รีชาร์ลีซง
(5 ประตู)
2016
2024
ปรับปรุงสถิติทั้งหมด ณ วันที่ 6 สิงหาคม ค.ศ. 2021

การแข่งขันกีฬาฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 2020 – ทีมชาย เป็น 1 ใน 2 รายการแข่งขันฟุตบอลที่โตเกียว ประเทศญี่ปุ่น จะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 21 กรกฎาคม - 7 สิงหาคม ค.ศ. 2021 ครั้งนี้จัดการแข่งขันกีฬาฟุตบอลในโอลิมปิกเป็นครั้งที่ 24 ในโอลิมปิกฤดูร้อน จัดขึ้น ณ สนามกีฬาใน 6 เมือง

ปฏิทินการแข่งขัน[แก้]

เวลาทั้งหมดเป็นเวลามาตรฐานญี่ปุ่น (UTC+9)[1]

สัญลักษณ์
22 พฤ. 23 ศ. 24 ส. 25 อา. 26 จ. 27 อ. 28 พ. 29 พฤ. 30 ศ. 31 ส. 1 อา. 2 จ. 3 อ. 4 พ. 5 พฤ. 6 ศ. 7 ส.
G G G ¼ ½ B F

การคัดเลือก[แก้]

การคัดเลือก อ้างอิง วันที่1 สถานที่1 จำนวนทีม ทีมที่เข้ารอบ
เจ้าภาพ 7 กันยายน 2013  อาร์เจนตินา 1 ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป รุ่นอายุไม่เกิน 21 ปี 2019 [2] 16–30 มิถุนายน 2019  อิตาลี
 ซานมารีโน
4 ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส
ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี
ธงชาติโรมาเนีย โรมาเนีย
ธงชาติสเปน สเปน
ฟุตบอลชายโอลิมปิกรอบคัดเลือก โอเอฟซี 2019 [3] 21 กันยายน – 5 ตุลาคม 2019  ฟีจี 1 ธงชาตินิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์
ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติแอฟริกา รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2019 [4] 8–22 พฤศจิกายน 2019  อียิปต์ 3 ธงชาติอียิปต์ อียิปต์
ธงชาติโกตดิวัวร์ โกตดิวัวร์
ธงชาติแอฟริกาใต้ แอฟริกาใต้
ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี 2020 [5] 8–26 มกราคม 2020  ไทย 3 ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้
ธงชาติซาอุดีอาระเบีย ซาอุดีอาระเบีย
ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
ฟุตบอลปรีโอลิมปิกคอนเมบอล 2020 [6] 18 มกราคม – 9 กุมภาพันธ์ 2020  โคลอมเบีย 2 ธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา
ธงชาติบราซิล บราซิล
ฟุตบอลชายโอลิมปิกรอบคัดเลือก 2020 โซนคอนคาแคฟ [7] 20 มีนาคม – 1 เมษายน 2020  เม็กซิโก 2 ธงชาติฮอนดูรัส ฮอนดูรัส
ธงชาติเม็กซิโก เม็กซิโก
รวม   16
  • ^1 วันที่และประเทศที่จัดการแข่งขันในการแข่งขันรอบสุดท้าย ส่วนในการแข่งขันรอบแรกอาจแข่งขันในสถานที่ที่แตกต่างกัน

สนามแข่งขัน[แก้]

การแข่งขันจัดขึ้นในหกสนาม ในหกเมืองเจ้าภาพ ดังนี้

รายชื่อ[แก้]

การแข่งขันฟุตบอลทีมชายเป็นทัวร์นาเมนต์ระดับนานาชาติที่มีข้อจำกัดด้านอายุ ผู้เล่นจะต้องเกิดในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1997 โดยอนุญาตให้ผู้เล่นอายุเกินสามคนสำหรับแต่ละทีม แต่ละทีมต้องส่งทีมผู้เล่น 18 คน โดยสองคนต้องเป็นผู้รักษาประตู แต่ละทีมยังสามารถระบุรายชื่อผู้เล่นสำรองสี่ราย ซึ่งสามารถแทนที่ผู้เล่นคนใดก็ได้ในทีมในกรณีที่ได้รับบาดเจ็บระหว่างการแข่งขัน[8]

ผู้ตัดสิน[แก้]

การจับสลาก[แก้]

การจับสลากของการแข่งขันจัดขึ้นในวันที่ 21 เมษายน ค.ศ. 2021 เวลา 10:00 (เวลาท้องถิ่น CEST UTC+2), ณ สำนักงานใหญ่ฟีฟ่า ในซูริค ประเทศสวิตเซอร์แลนด์[9] ดำเนินการโดย ซาไร บาเรแมน หัวหน้าเจ้าหน้าที่ฟุตบอลหญิงของฟีฟ่า และ ไฆเม ยาร์ซา ผู้อำนวยการการแข่งขันของฟีฟ่า

ทีมที่ผ่านรอบคัดเลือก 15 ทีมและเจ้าภาพญี่ปุ่น จะถูกแบ่งออกเป็นสี่โถ ซึ่งเจ้าภาพญี่ปุ่นจะถูกจัดวางในโถ 1 โดยอัตโนมัติและมอบหมายให้อยู่ในตำแหน่ง A1 ในขณะที่ทีมที่เหลือถูกวางลงในโถตามลำดับโดยอิงจากผลการแข่งขันในห้าการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกที่ผ่านมา (ในปีล่าสุดจะได้รับคะแนนในการพิจารณามากกว่า) พร้อมคะแนนโบนัสที่มอบให้กับแชมป์ของสมาพันธ์นั้น ๆ ในหนึ่งกลุ่มจะไม่มีกลุ่มใดที่มีมากกว่าหนึ่งทีมจากแต่ละสมาพันธ์[10] เจ้าภาพอย่างญี่ปุ่นถูกวางในโถ 1 และอยู่ในตำแหน่ง A1 โดยอัตโนมัติ ในขณะที่ทีมอื่น ๆ จะเรียงตามผลงานในโอลิมปิกห้าครั้งหลังสุด (ถ้าเข้าร่วมมากก็จะได้คะแนนมาก) โดยคะแนนพิเศษจะถูกเพิ่มให้กับทีมแชมป์ของแต่ละสมาพันธ์ ในแต่ละกลุ่มต้องไม่มีทีมที่มาจากสมาพันธ์เดียวกันมากกว่าหนึ่งทีม[11]

โถ 1 โถ 2 โถ 3 โถ 4

รอบแบ่งกลุ่ม[แก้]

เวลาทั้งหมดเป็นเวลามาตรฐานญี่ปุ่น (UTC+9).[12]

กลุ่ม เอ[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น (H) 3 3 0 0 7 1 +6 9 ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก
2 ธงชาติเม็กซิโก เม็กซิโก 3 2 0 1 8 3 +5 6
3 ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 3 1 0 2 5 11 −6 3
4 ธงชาติแอฟริกาใต้ แอฟริกาใต้ 3 0 0 3 3 8 −5 0
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
(H) เจ้าภาพ.



ฝรั่งเศส 4–3ธงชาติแอฟริกาใต้ แอฟริกาใต้
รายงาน (โตเกียว 2020)
รายงาน (ฟีฟ่า)
ผู้ชม: 0
ผู้ตัดสิน: Kevin Ortega (เปรู)

กลุ่ม บี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 3 2 0 1 10 1 +9 6 ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก
2 ธงชาตินิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์ 3 1 1 1 3 3 0 4
3 ธงชาติโรมาเนีย โรมาเนีย 3 1 1 1 1 4 −3 4
4 ธงชาติฮอนดูรัส ฮอนดูรัส 3 1 0 2 3 9 −6 3
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า


ฮอนดูรัส 0–1ธงชาติโรมาเนีย โรมาเนีย
รายงาน (โตเกียว 2020)
รายงาน (ฟีฟ่า)
Oliva Goal 45+1' (o.g.)
ผู้ชม: 0 คน
ผู้ตัดสิน: Leodán González (อุรุกวัย)


กลุ่ม ซี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติสเปน สเปน 3 1 2 0 2 1 +1 5 ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก
2 ธงชาติอียิปต์ อียิปต์ 3 1 1 1 2 1 +1 4
3 ธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา 3 1 1 1 2 3 −1 4
4 ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 3 1 0 2 2 3 −1 3
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า




กลุ่ม ดี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติบราซิล บราซิล 3 2 1 0 7 3 +4 7 ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก
2  โกตดิวัวร์ 3 1 2 0 3 2 +1 5
3 ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี 3 1 1 1 6 7 −1 4
4  ซาอุดีอาระเบีย 3 0 0 3 4 8 −4 0
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า




รอบแพ้คัดออก[แก้]

การแข่งขันในรอบแพ้คัดออกจะแข่งขันกันในเวลาปกติ 90 นาที หากเสมอกันจะต้องต่อเวลาพิเศษ 30 นาที โดยแบ่งเป็นครึ่งละ 15 นาที หากยังเสมอกันต้องดวลลูกโทษ เพื่อหาผู้ชนะ[8]

สายการแข่งขัน[แก้]

 
รอบก่อนรองชนะเลิศรอบรองชนะเลิศรอบชิงเหรียญทอง
 
          
 
31 กรกฎาคม – โยโกฮามะ
 
 
 เกาหลีใต้3
 
3 สิงหาคม – คาชิมะ
 
 เม็กซิโก6
 
 เม็กซิโก0 (1)
 
31 กรกฎาคม – ไซตามะ
 
 บราซิล
(ลูกโทษ)
0 (4)
 
 บราซิล1
 
7 สิงหาคม – โยโกฮามะ
 
 อียิปต์0
 
 บราซิล
(ต่อเวลา)
2
 
31 กรกฎาคม – คาชิมะ
 
 สเปน1
 
 ญี่ปุ่น
(ลูกโทษ)
0 (4)
 
3 สิงหาคม – ไซตามะ
 
 นิวซีแลนด์0 (2)
 
 ญี่ปุ่น0
 
31 กรกฎาคม – ริฟุ
 
 สเปน
(ต่อเวลา)
1 รอบชิงเหรียญทองแดง
 
 สเปน
(ต่อเวลา)
5
 
6 สิงหาคม – ไซตามะ
 
 โกตดิวัวร์2
 
 เม็กซิโก3
 
 
 ญี่ปุ่น1
 

รอบแพ้คัดออก[แก้]

สเปน 5–2 (ต่อเวลาพิเศษ) โกตดิวัวร์
Report (TOCOG)
Report (FIFA)
ผู้ชม: 5,526[13]
ผู้ตัดสิน: Jesús Valenzuela (เวเนซุเอลา)



รอบรองชนะเลิศ[แก้]


รอบชิงเหรียญทองแดง[แก้]

รอบชิงเหรียญทอง[แก้]

สถิติ[แก้]

ผู้ทำประตูสูงสุด[แก้]

มีการทำประตู 93 ประตู จากการแข่งขัน 32 นัด เฉลี่ย 2.91 ประตูต่อนัด


การทำประตู 5 ครั้ง

การทำประตู 4 ครั้ง

การทำประตู 3 ครั้ง

การทำประตู 2 ครั้ง

การทำประตู 1 ครั้ง

การทำเข้าประตูตัวเอง 1 ครั้ง

แหล่งที่มา : ฟีฟ่า

อันดับ[แก้]

นัดที่มีผลแพ้ชนะในช่วงต่อเวลาพิเศษ จะถูกนับว่าเป็นชนะหรือแพ้ ในขณะที่นัดที่ตัดสินด้วยการยิงลูกโทษ จะถูกนับว่าเป็นการเสมอ

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน ผลงาน
1  บราซิล 6 4 2 0 10 4 +6 14 เหรียญทอง
2  สเปน 6 3 2 1 9 5 +4 11 เหรียญเงิน
3 ธงชาติเม็กซิโก เม็กซิโก 6 4 1 1 17 7 +10 13 เหรียญทองแดง
4  ญี่ปุ่น (H) 6 3 1 2 8 5 +3 10 อันดับที่สี่
5  เกาหลีใต้ 4 2 0 2 13 7 +6 6 ตกรอบก่อนรองชนะเลิศ
6  นิวซีแลนด์ 4 1 2 1 3 3 0 5
7  โกตดิวัวร์ 4 1 2 1 5 7 −2 5
8  อียิปต์ 4 1 1 2 2 2 0 4
9  เยอรมนี 3 1 1 1 6 7 −1 4 ตกรอบแบ่งกลุ่ม
10  อาร์เจนตินา 3 1 1 1 2 3 −1 4
11  โรมาเนีย 3 1 1 1 1 4 −3 4
12  ออสเตรเลีย 3 1 0 2 2 3 −1 3
13  ฝรั่งเศส 3 1 0 2 5 11 −6 3
14  ฮอนดูรัส 3 1 0 2 3 9 −6 3
15  ซาอุดีอาระเบีย 3 0 0 3 4 8 −4 0
16  แอฟริกาใต้ 3 0 0 3 3 8 −5 0
แหล่งที่มา : โตเกียว 2020
(H) เจ้าภาพ.

อ้างอิง[แก้]

  1. "Match schedule for Tokyo 2020".
  2. "Under-21 EURO 2019: all you need to know". uefa.com. 16 October 2018.
  3. "Olympic Qualifier Draw complete". Oceania Football Confederation. 7 May 2019.
  4. "CAF confirms 2019 Total U-23 Africa Cup of Nations in Egypt will be played in November". Ghana Soccernet. 29 September 2018.
  5. "FA Thailand proposed as 2020 AFC U-23 Championship host". AFC. สืบค้นเมื่อ 30 August 2018.
  6. "Colombia será sede del Campeonato Sudamericano Preolímpico Sub-23 del 2020". conmebol.com. 14 August 2018.
  7. "Guadalajara Set to Host the 2020 Concacaf Men's Olympic Qualifying Tournament". www.concacaf.com (ภาษาอังกฤษ). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-08-22. สืบค้นเมื่อ 2019-08-22.
  8. 8.0 8.1 "Regulations for the Olympic Football Tournaments Tokyo 2020" (PDF). FIFA.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-05-18. สืบค้นเมื่อ 2021-07-17. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่สมเหตุสมผล มีนิยามชื่อ "regulations" หลายครั้งด้วยเนื้อหาต่างกัน
  9. "Tokyo 2020 Olympic draws to be held at the Home of FIFA". FIFA. 22 March 2021. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-03-22. สืบค้นเมื่อ 22 March 2021.
  10. "Draws set path to Tokyo 2020 gold". FIFA. 21 April 2021. สืบค้นเมื่อ 21 April 2021.
  11. "Draw Procedures – Olympic Football Tournaments Tokyo 2020 – Men's tournament" (PDF). FIFA.
  12. "Men's Olympic Football Tournament Tokyo 2020 – Matches". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-03-21. สืบค้นเมื่อ 6 February 2020.
  13. 13.0 13.1 13.2 "Attendance Summary" (PDF). Olympics.com. 24 July 2021. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2021-07-25. สืบค้นเมื่อ 31 July 2021.
  14. "สำเนาที่เก็บถาวร" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2021-08-11. สืบค้นเมื่อ 2021-08-06.