ไทยลีกคัพ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไทยลีกคัพ
ก่อตั้งพ.ศ. 2530 (ยุคแรก)
พ.ศ. 2553 (ยุคที่สอง)
ยกเลิกพ.ศ. 2537 (ยุคแรก)
ภูมิภาคไทย ไทย
ทีมชนะเลิศล่าสุดบุรีรัมย์ ยูไนเต็ด (7 สมัย)
ทีมที่ประสบความสำเร็จที่สุดบุรีรัมย์ ยูไนเต็ด (7 สมัย)
ผู้แพร่ภาพโทรทัศน์เอไอเอส
รีโว่ คัพ 2566–67

ไทยลีกคัพ เป็นการแข่งขันฟุตบอลถ้วยระดับรองในประเทศไทย จัดขึ้นโดยสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ เริ่มเป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2553 โดยมีบริษัท โตโยต้ามอเตอร์ (ประเทศไทย) จำกัด เป็นผู้สนับสนุนหลัก จึงมีชื่อเรียกว่าไฮลักซ์ รีโว่คัพ รูปแบบการแข่งขันเป็นระบบแพ้คัดออก (Knock-out) โดยกำหนดสัดส่วนของสโมสรฟุตบอลที่เข้าแข่งขัน ตามระดับชั้นของลีกที่ลงแข่งขันในฤดูกาลนั้น และใช้การแข่งขันแบบแพ้คัดออกอนึ่ง บริษัท โตโยต้ามอเตอร์ (ประเทศไทย) เคยให้การสนับสนุนการแข่งขันฟุตบอลถ้วยของสมาคมฟุตบอลฯ มาแล้ว 8 ครั้งในชื่อว่า โตโยต้าคัพ ระหว่างปี พ.ศ. 2530-2537

รายการนัดชิงชนะเลิศ[แก้]

โตโยต้า คัพ[แก้]

ปี ชนะเลิศ[1]
2530 ทหารอากาศ
2531 ธนาคารกรุงเทพ
2532 สโมสรตำรวจ
2533 กรุงเทพมหานคร (โอสถสภา+ราชนาวี)
2534 สโมสรตำรวจ
2535 ธนาคารกรุงไทย
2536 สโมสรตำรวจ
2537 ทหารอากาศ

โตโยต้า ลีกคัพ[แก้]

ปี ชนะเลิศ ผลการแข่งขัน รองชนะเลิศ สนามแข่งขัน
2553 การท่าเรือไทย 2–1 บุรีรัมย์ พีอีเอ สนามศุภชลาศัย
2554 บุรีรัมย์ พีอีเอ 2–0 การท่าเรือไทย สนามศุภชลาศัย
2555 บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 4–1 ราชบุรี มิตรผล สนามฟุตบอลธรรมศาสตร์ รังสิต
2556 บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 2–1 ราชบุรี มิตรผล สนามฟุตบอลธรรมศาสตร์ รังสิต
2557 บีอีซี เทโรศาสน 2–0 บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด สนามศุภชลาศัย
2558 บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 1–0 ศรีสะเกษ สนามศุภชลาศัย
2559 บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด และ เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด (ครองแชมป์ร่วมกัน)
2560 เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด 2–0 เชียงราย ยูไนเต็ด สนามศุภชลาศัย
2561 เชียงราย ยูไนเต็ด 1–0 บางกอกกล๊าส สนามฟุตบอลธรรมศาสตร์ รังสิต
2562 พีที ประจวบ 1–1 หลังต่อเวลา
(8–7 ลูกโทษ)
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด สนามเอสซีจีสเตเดียม
2563–64 ยกเลิกการแข่งขัน[2]

รีโว่ ลีกคัพ[แก้]

ปี ชนะเลิศ ผลการแข่งขัน รองชนะเลิศ สนามแข่งขัน
2564–65 บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 4–0 พีที ประจวบ สนามบีจีสเตเดียม

รีโว่ คัพ[แก้]

ปี ชนะเลิศ ผลการแข่งขัน รองชนะเลิศ สนามแข่งขัน
2565–66 บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 2–0 บีจี ปทุม ยูไนเต็ด ธันเดอร์โดมสเตเดียม

ทำเนียบผู้ชนะเลิศจำแนกตามสโมสร[แก้]

สโมสร ชนะเลิศ
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 7 (25542, 2555, 2556, 2558, 25591, 2564–65, 2565–66)
สโมสรตำรวจ 3 (2532, 2534, 2536)
เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด 2 (25591, 2560)
ทหารอากาศ 2 (2530, 2537)
ธนาคารกรุงเทพ 1 (2531)
ธนาคารกรุงไทย 1 (2535)
โอสถสภา 1 (25331)
ราชนาวี 1 (25331)
การท่าเรือ 1 (25533)
โปลิศ เทโร 1 (25574)
เชียงราย ยูไนเต็ด 1 (2561)
พีที ประจวบ 1 (2562)

1ชนะเลิศร่วมกัน

2ส่งแข่งในนาม บุรีรัมย์ พีอีเอ

3ส่งแข่งในนาม การท่าเรือไทย เอฟซี

4ส่งแข่งในนาม บีอีซี เทโรศาสน

อ้างอิง[แก้]

  1. "Toyota Cup : Hall of Fame". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-08-31. สืบค้นเมื่อ 2012-09-30.
  2. ""กรวีร์"ชี้ลีกคัพจ่อยกเลิกหลังไม่มีสปอนเซอร์". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-01-16. สืบค้นเมื่อ 2020-10-22.

เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ[แก้]