ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สายโลหิต"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 65: บรรทัด 65:
| '''ผู้กำกับการแสดง''' || [[สุพรรณ บูรณะพิมพ์]]<br>[[มีศักดิ์ นาครัตน์]] || [[ดาราวิดีโอ#ผู้กำกับการแสดงในสังกัด|สยาม สังวริบุตร]] || คฑาเทพ รัตนอุดม || [[ดาราวิดีโอ#ผู้กำกับการแสดงในสังกัด|สยาม สังวริบุตร]]<br>[[ดาราวิดีโอ#ผู้กำกับการแสดงในสังกัด|เพ็ญลักษณ์ อุดมสิน]]
| '''ผู้กำกับการแสดง''' || [[สุพรรณ บูรณะพิมพ์]]<br>[[มีศักดิ์ นาครัตน์]] || [[ดาราวิดีโอ#ผู้กำกับการแสดงในสังกัด|สยาม สังวริบุตร]] || คฑาเทพ รัตนอุดม || [[ดาราวิดีโอ#ผู้กำกับการแสดงในสังกัด|สยาม สังวริบุตร]]<br>[[ดาราวิดีโอ#ผู้กำกับการแสดงในสังกัด|เพ็ญลักษณ์ อุดมสิน]]
|-
|-
| '''วันเวลาออกอากาศ / วันเวลาการแสดง''' || || วันศุกร์ - อาทิตย์<br>เวลา 20.30 - 22.15 น. || ละครวันจันทร์ - วันอังคาร<br>เวลา 20.15 - 22.20 น. || เร็วๆนี้
| '''วันเวลาออกอากาศ '' || || ศุกร์ - อาทิตย์<br>เวลา 20.30 - 22.15 น. || จันทร์ - วันอังคาร<br>เวลา 20.15 - 22.20 น. || เร็วๆนี้
|-
|-
! ตัวละคร !! colspan="4" style="text-align:center;" |'''นักแสดงหลัก'''
|พระยาไกรสีห์ราชภักดี (ไกร) || [[ฉัตรชัย เปล่งพานิช]] || [[ศรราม เทพพิทักษ์]] (วัยหนุ่ม)<br>[[อภิชาติ หาลำเจียก]] (วัยกลางคน) || [[พุฒิชัย อมาตยกุล]] || [[ศรัณย์ ศิริลักษณ์]]
|-
| พระยาไกรสีห์ราชภักดี (ไกร) || [[ฉัตรชัย เปล่งพานิช]] || [[ศรราม เทพพิทักษ์]] (วัยหนุ่ม)<br>[[อภิชาติ หาลำเจียก]] (วัยกลางคน) || [[พุฒิชัย อมาตยกุล]] || [[ศรัณย์ ศิริลักษณ์]]
|-
|-
| หมื่นทิพเทศา (ด้วง) ||[[นพพล โกมารชุน]] ||[[ศตวรรษ ดุลยวิจิตร]] || [[วรฤทธิ์ ไวยเจียรนัย]] || [[ชนะพล สัตยา]]
| หมื่นทิพเทศา (ด้วง) ||[[นพพล โกมารชุน]] ||[[ศตวรรษ ดุลยวิจิตร]] || [[วรฤทธิ์ ไวยเจียรนัย]] || [[ชนะพล สัตยา]]
บรรทัด 104: บรรทัด 106:
|-
|-
| พระยาพิริยะแสนพลพ่าย || [[ศิริ ศิริจินดา]] || [[พร้อมพงษ์ นพฤทธิ์]] || || [[อธิวัฒน์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา]]
| พระยาพิริยะแสนพลพ่าย || [[ศิริ ศิริจินดา]] || [[พร้อมพงษ์ นพฤทธิ์]] || || [[อธิวัฒน์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา]]
|-
! ตัวละคร !! colspan="5" style="text-align:center;" |'''นักแสดงรับเชิญ'''
|-
|-
| หลวงเสนาสุรภาค (เดือน) || || [[มาฬิศร์ เชยโสภณ]] || || [[นนทพันธ์ ใจกันทา]]
| หลวงเสนาสุรภาค (เดือน) || || [[มาฬิศร์ เชยโสภณ]] || || [[นนทพันธ์ ใจกันทา]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:15, 9 กุมภาพันธ์ 2561

สายโลหิต
ไฟล์:Sai Lohit cover (extract Thai-English Edition).jpg
ปกนวนิยายเรื่องสายโลหิต ฉบับคัดย่อภาษาไทย-ภาษาอังกฤษ ในชื่อ The Heritage จัดพิมพ์โดยกระทรวงศึกษาธิการ เมื่อ พ.ศ. 2557
ประเภทชีวิต, ละครย้อนยุคทางประวัติศาสตร์
สร้างโดยพ.ศ. 2529
บรอดคาซท์ ไทย เทเลวิชั่น
พ.ศ. 2538
สุรางค์ เปรมปรีดิ์
พ.ศ. 2561
บริษัท ดาราวิดีโอ จำกัด
เขียนโดยบทประพันธ์ : โสภาค สุวรรณ
บทโทรทัศน์ :
พ.ศ. 2538
ศัลยา
พ.ศ. 2561
ศัลยา
กำกับโดยพ.ศ. 2529
สุพรรณ บูรณพิมพ์
มีศักดิ์ นาครัตน์
พ.ศ. 2538
สยาม สังวริบุตร
พ.ศ. 2561
สยาม สังวริบุตร
เพ็ญลักษณ์ อุดมสิน
แสดงนำพ.ศ. 2538
ศรราม เทพพิทักษ์
อภิชาติ หาลำเจียก
ศตวรรษ ดุลยวิจิตร
สุวนันท์ คงยิ่ง
ภาษาต้นฉบับไทย ไทย
การผลิต
ผู้อำนวยการสร้างพ.ศ. 2538
สุรางค์ เปรมปรีดิ์
พ.ศ. 2561
คณะกรรมการพิจารณาการผลิตละครโทรทัศน์
สยาม สังวริบุตร
ออกอากาศ
เครือข่ายพ.ศ. 2538
สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7
พ.ศ. 2561
สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7
ออกอากาศพ.ศ. 2538
10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2538 - 7 มกราคม พ.ศ. 2539 พ.ศ. 2561

สายโลหิต เป็นผลงานนวนิยายของโสภาค สุวรรณ ได้รับการตีพิมพ์ครั้งแรกลงในนิตยสารสตรีสาร เป็นนวนิยายอิงประวัติศาสตร์ชาติไทยปลายกรุงศรีอยุธยาก่อนเสียกรุง ข้าศึกเรื่องนี้เกิดขึ้นเพราะการไม่เตรียมพร้อมและประมาทของพลเมือง ความขัดแย้งสืบเนื่องมาจากความไม่สามัคคี การทำลายฆ่าฟันกันเอง อันเป็นผลให้คนดีมีฝีมือลดน้อยลง เป็นสาเหตุสำคัญที่อาจเป็นอุทาหรณ์สอนใจ ไม่ให้ประวัติศาสตร์ซ้ำรอยอีกครั้ง แม้ว่าจะต่างวาระก็ตาม[1]

การดัดแปลงเป็นละครโทรทัศน์

นวนิยายเรื่องสายโลหิตได้รับการดัดแปลงเป็นละครโทรทัศน์แล้ว 3 ครั้ง และอยู่ในระหว่างการดัดแปลงเป็นละครโทรทัศน์ 1 ครั้ง โดยครั้งแรกออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ในปี พ.ศ. 2529 สร้างโดยสุพรรณ บูรณะพิมพ์ นำแสดงโดยฉัตรชัย เปล่งพานิช รับบท ขุนไกร, อาภาพร กรทิพย์ รับบท ดาวเรือง, นพพล โกมารชุน รับบท หมื่นทิพเทศา / หมื่นทิพ และ อำภา ภูษิต รับบท แม่หญิงเยื้อน [2][3]

ครั้งที่ 2 สุรางค์ เปรมปรีดิ์ ผู้ถือลิขสิทธิ์นวนิยายในนามส่วนตัวนำมาจัดทำเป็นละครโทรทัศน์ ออกอากาศครั้งแรกทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 เมื่อปี พ.ศ. 2538 เขียนบทโทรทัศน์โดยศัลยา ผลิตโดยบริษัทดาราวิดีโอ กำกับการแสดงโดยสยาม สังวริบุตร นำแสดงโดยศรราม เทพพิทักษ์ รับบท ขุนไกร, สุวนันท์ คงยิ่ง รับบท ดาวเรือง และศตวรรษ ดุลยวิจิตร รับบท หมื่นทิพเทศา / หมื่นทิพ ออกอากาศทุกวันศุกร์ เสาร์ และอาทิตย์ เวลา 20.30 น. ตั้งแต่วันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2538 - 7 มกราคม พ.ศ. 2539 จำนวนตอนออกอากาศ 27 ตอน

อนึ่ง เนื่องจากละครชุดสายโลหิตฉบับปี พ.ศ. 2538 ได้รับความนิยมจากผู้ชมสูงมาก ทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 จึงได้นำละครชุดนี้มาออกอากาศซ้ำอีกหลายครั้ง ดังนี้

  • ออกอากาศซ้ำครั้งที่ 1 เมื่อ พ.ศ. 2542
  • ออกอากาศซ้ำครั้งที่ 2 เมื่อ พ.ศ. 2547 โดยออกอากาศทุกวันจันทร์ - วันศุกร์ เวลา 13.30 น. [4]
  • ออกอากาศซ้ำครั้งที่ 3 ระหว่างวันที่ 14 พฤศจิกายน - 1 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ออกอากาศทุกวัน เวลา 20.30 น.

ครั้งที่ 3 ออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ในปี พ.ศ. 2546 ดำเนินการผลิตโดย บริษัท บางกอกการละคอน จำกัด กำกับการแสดงโดยคฑาเทพ รัตนอุดม บทโทรทัศน์โดยดำเกิง ฐิตะปิยะศักดิ์ นำแสดงโดยพุฒิชัย อมาตยกุล รับบท ขุนไกร, พิมลรัตน์ พิศลยบุตร รับบท ดาวเรือง และวรฤทธิ์ ไวยเจียรนัย รับบท หมื่นทิพเทศา / หมื่นทิพ ออกอากาศทุกวันจันทร์-อังคาร เวลา 20.20 น. [5]

ครั้งที่ 4 จะออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 ในปี พ.ศ. 2561 โดยทางดาราวิดีโอได้นำกลับมาสร้างอีกครั้ง บทโทรทัศน์โดยศัลยา กำกับการแสดงโดยสยาม สังวริบุตร นำแสดงโดยศรัณย์ ศิริลักษณ์, ชนะพล สัตยา, ทิสานาฏ ศรศึก, ดวงดาว จารุจินดา, รัชนีกร พันธุ์มณี, ปนัดดา โกมารทัต

รายชื่อนักแสดง

ปี พ.ศ. 2529 พ.ศ. 2538 พ.ศ. 2546 พ.ศ. 2561
สถานีออกอากาศ ช่อง 3 ช่อง 7 ช่อง 3 ช่อง 7
ผู้จัดละคร สุพรรณ บูรณะพิมพ์ ดาราวีดีโอ บางกอกการละคอน ดาราวิดีโอ
บทโทรทัศน์ นิรุต สังตสุวรรณ ศัลยา ดำเกิง ฐิตะปิยะศักดิ์ ศัลยา
ผู้กำกับการแสดง สุพรรณ บูรณะพิมพ์
มีศักดิ์ นาครัตน์
สยาม สังวริบุตร คฑาเทพ รัตนอุดม สยาม สังวริบุตร
เพ็ญลักษณ์ อุดมสิน
'วันเวลาออกอากาศ ศุกร์ - อาทิตย์
เวลา 20.30 - 22.15 น.
จันทร์ - วันอังคาร
เวลา 20.15 - 22.20 น.
เร็วๆนี้
ตัวละคร นักแสดงหลัก
พระยาไกรสีห์ราชภักดี (ไกร) ฉัตรชัย เปล่งพานิช ศรราม เทพพิทักษ์ (วัยหนุ่ม)
อภิชาติ หาลำเจียก (วัยกลางคน)
พุฒิชัย อมาตยกุล ศรัณย์ ศิริลักษณ์
หมื่นทิพเทศา (ด้วง) นพพล โกมารชุน ศตวรรษ ดุลยวิจิตร วรฤทธิ์ ไวยเจียรนัย ชนะพล สัตยา
ดาวเรือง อาภาพร กรทิพย์ (วัยสาว)
ขวัญฤดี กลมกล่อม (วัยเด็ก)
สุวนันท์ คงยิ่ง (วัยสาว)
มาติกา อรรถกรศิริโพธิ์ (วัยเด็ก)
ดวงดาว จารุจินดา (วัยกลางคน/วัยชรา)
พิมลรัตน์ พิศลยบุตร (วัยสาว)
พิมประภา ตั้งประภาพร (วัยเด็ก)
ทิสานาฏ ศรศึก (วัยสาว)
สุภาภัสสร์ ผลเจริญรัตน์ (วัยเด็ก)
แม่หญิงเยื้อน อำภา ภูษิต อุษณีย์ รักกสิกรณ์ เขมสรณ์ หนูขาว ณัฐชา นวลแจ่ม
พระสุวรรณราชา (พัน) อำนวย ศิริจันทร์ สรพงษ์ ชาตรี อนุสรณ์ เดชะปัญญา ศรุต วิจิตรานนท์
หลวงเทพฤทธิ์อริศัตรูพ่าย (เทพ) สมภพ เบญจาธิกุล เอกพัน บรรลือฤทธิ์ ภูธฤทธิ์ พรหมบันดาล อนุวัฒน์ ชูเชิดรัตนา
ลำดวน รัชนู บุญชูดวง กชกร นิมากรณ์ ธิญาดา พรรณบัว กวิตา รอดเกิด
พันสิงห์ ไกรลาศ เกรียงไกร ทองขาว ภัทรโชคชัย ต่อตระกูล จันทิมา สุรศักดิ์ โชติทินวัฒน์
คุณหญิงปริก พงษ์ลดา พิมลพรรณ ปนัดดา โกมารทัต ธัญญา โสภณ รชนีกร พันธุ์มณี
คุณหญิงศรีนวล รัตนาภรณ์ อินทรกำแหง ธัญญรัตน์ โลหะนันท์ อำภา ภูษิต ขวัญฤดี กลมกล่อม
ย่านิ่ม จุรี โอศิริ บรรเจิดศรี ยมาภัย มยุรฉัตร เหมือนประสิทธิเวช ดวงดาว จารุจินดา
ครูดาบ ปราโมทย์ เมษะมาณ ศิริ ศิริจินดา โกวิท วัฒนกุล พงษ์ประยูร ราชอาภัย
พ่อทับ กษมา นิสัยพันธุ์ กล้วย เชิญยิ้ม นึกคิด บุญทอง โชคดี ฟักภู่
เยื้อน ณัฐนี สิทธิสมาน ยุวดี เรืองฉาย
ฉันทนา กิติยพันธ์ (วัยชรา)
ไปรมา รัชตะ ทราย เจริญปุระ
อิ่ม เยาวเรศ นิสากร ชลมารค ธ เชียงทอง
ชด บุษรา นฤมิตร เมตตา รุ่งรัตน์ ณัฐมนต์ พันธุ์เพ็ง
มิ่ง วรเชษฐ์ นิ่มสุวรรณ ศรุต สุวรรณภักดี
มา ชัยวรงค์ ช่างเกิด กฤษณนาท มะลิวัลย์
พระยาพิริยะแสนพลพ่าย ศิริ ศิริจินดา พร้อมพงษ์ นพฤทธิ์ อธิวัฒน์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
ตัวละคร นักแสดงรับเชิญ
หลวงเสนาสุรภาค (เดือน) มาฬิศร์ เชยโสภณ นนทพันธ์ ใจกันทา
พวง รุ่งรัตน์ ดวงขวัญ ชนัญญา พงษ์นาค
พระยายมราช กรุง ศรีวิไล สุธี ศิริเจริญ
พระยาพลเทพ มานพ อัศวเทพ สุเมธ องอาจ
ขุนรองปลัดชู ธนา สินประสาธน์ โอภาภูมิ ชิตาพัณณ์
มังฆ้องนรธา สุรจิต บุญญานนท์
มังมหานรธา สยาม สังวริบุตร สุระ มูรธานนท์
เจ้าจอมแม้น โฉมฉาย ฉัตรวิไล กัญญารัตน์ จิรรัชชกิจ วรางคนาง วุฑฒยากร
เจ้าจอมเพ็ง พรพรรณ เชาวฤทธิ์ กัญญารัตน์ พงศ์กัมปนาท
พระยารัตนาธิเบศร์ ศราวุฒิ ธัญญาลักษณ์ ศุภชัย เธียรอนันต์
พระยาราชมนตรี (ปิ่น) นึกคิด บุญทอง
พระยาวิชิตปรีชา ขจรศักดิ์ รัตนนิสสัย
เจ้าพระยาจักรี ภูธฤทธิ์ พรหมบันดาล
พระยาตาก (คุณสิน) / สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช สุรวุฑ ไหมกัน
ยายนวล บรรเจิดศรี ยมาภัย
ยายเผื่อน รุ่งกานดา เบญจมาภรณ์
สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์ (ขุนหลวงขี้เรื้อน) ธิตินันท์ สุวรรณศักดิ์
สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร (ขุนหลวงหาวัด) เพชรฎี ศรีฤกษ์
จมื่นศรีสรรักษ์ สุรจิต บุญญานนท์
อ้น พรรณี โต๊ะยานี
จุ้น ศิริวรรณ พวงทอง
หอม ศิริพร ไพบูลย์กิจกุล
โห่ อุดมศักดิ์ ต้นติพรกุศล
จัน สพล ชนวีร์ สวีเดน ทะสานนท์
พระเจ้าอลองพญา อรุชา โตสวัสดิ์
พระเจ้ามังระ พูลภัทร อัตถปัญญาพล
เนเมียวสีหบดี ศุภกิจ ตังทัตสวัสดิ์
สุกี้พระนายกอง พลกฤษณ์ จักรสุวรรณ

รางวัล

ละครสายโลหิต ปี 2529
รางวัล สาขารางวัล ผู้ได้รับการเสนอชื่อ ผลตัดสิน หมายเหตุ
รางวัลโทรทัศน์ทองคำ ครั้งที่ 1
ดารานำชายดีเด่น ฉัตรชัย เปล่งพานิช ชนะ [6]
นักแสดงสมทบหญิงดีเด่น จุรี โอศิริ ชนะ
ผู้กำกับการแสดงละครดีเด่น สุพรรณ บูรณะพิมพ์ เสนอชื่อเข้าชิง
ผู้สร้างฉากละครดีเด่น เพิ่มศักดิ์ อาบทิพย์, อภิชาติ นาคน้อย, สายัณห์ ตั้งวิชิตฤกษ์ เสนอชื่อเข้าชิง
รางวัลเมขลา ครั้งที่ 6
ดารานำชายดีเด่น นพพล โกมารชุน ชนะ [7]
ผู้กำกับการแสดงละครดีเด่น สุพรรณ บูรณะพิมพ์ เสนอชื่อเข้าชิง
ผู้ประพันธ์เพลงละครดีเด่น มีศักดิ์ นาครัตน์ เสนอชื่อเข้าชิง
ละครสายโลหิต ปี 2538
รางวัล สาขารางวัล ผู้ได้รับการเสนอชื่อ ผลตัดสิน
รางวัลโทรทัศน์ทองคำ ครั้งที่ 10
ผู้กำกับละครดีเด่น สยาม สังวริบุตร เสนอชื่อเข้าชิง
เพลงนำละครดีเด่น สุทธิพงษ์ วัฒนจัง เสนอชื่อเข้าชิง
ดนตรีประกอบละครดีเด่น เสนอชื่อเข้าชิง
รางวัลเมขลา ครั้งที่ 15
ผู้กำกับละครดีเด่น สยาม สังวริบุตร เสนอชื่อเข้าชิง
ผู้กำกับรายการดีเด่น เสนอชื่อเข้าชิง
ผู้เขียนบทละครดีเด่น ศัลยา เสนอชื่อเข้าชิง
เพลงนำละครดีเด่น สุทธิพงษ์ วัฒนจัง เสนอชื่อเข้าชิง
ฉากละครดีเด่น อ.สุวรรณ วังสุขจิต เสนอชื่อเข้าชิง
จัดเครื่องแต่งกายดีเด่น เสนอชื่อเข้าชิง

อ้างอิง