โทะ
หน้าตา
ฮิรางานะ |
คาตากานะ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
การถอดอักษร | to | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
+ดากูเต็ง | do | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
มังโยงานะ ของฮิรางานะ |
止 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
มังโยงานะ ของคาตากานะ |
止 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
รหัสเรียกขาน | 東京のト (โทเกียว โนะ โทะ) | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
รหัสมอร์ส | ・・-・・ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
อักษรเบรลล์ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ยูนิโคด | U+3068, U+30C8 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
โทะ เป็นคะนะของภาษาญี่ปุ่นตัวหนึ่ง ฮิระงะนะเขียนว่า と มีที่มาจากตัวเขียนหวัดของมันโยงะนะ 止 และคะตะกะนะเขียนว่า ト มีที่มาจากส่วนบนของมันโยงะนะ 止 ออกเสียงว่า เมื่อเติมดะกุเต็งจะออกเสียงว่า
と เป็นอักษรลำดับที่ 20 อยู่ระหว่าง て (เทะ) กับ な (นะ) ในการจัดลำดับอักษรปัจจุบัน ส่วนการจัดลำดับแบบอิโระฮะ と เป็นอักษรลำดับที่ 7 อยู่ระหว่าง へ (เฮะ) กับ ち (ชิ)
รูปแบบ | โรมะจิ | ฮิระงะนะ | คะตะกะนะ | เสียงอ่าน | รูปแบบ | โรมะจิ | ฮิระงะนะ | คะตะกะนะ | เสียงอ่าน |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ธรรมดา | to | と | ト | โทะ-โตะ | ธรรมดา +ดะกุเต็ง |
do | ど | ド | โดะ |
tou tō |
とう, とぅ とお, とぉ とー, と~ |
トウ, トゥ トオ, トォ トー, ト~ |
โท-โต | dou dō |
どう, どぅ どお, どぉ どー, ど~ |
ドウ, ドゥ ドオ, ドォ ドー, ド~ |
โด | ||
ทวิอักษร | twa | とぁ | トァ | ทฺวะ-ตฺวะ | ทวิอักษร +ดะกุเต็ง |
dwa | どぁ | ドァ | ดฺวะ |
twi | とぃ | トィ | ทฺวิ-ตฺวิ | dwi | どぃ | ドィ | ดฺวิ | ||
tu, twu | とぅ | トゥ | ทุ-ตุ, ทฺวุ-ตฺวุ | du, dwu | どぅ | ドゥ | ดุ, ดฺวุ | ||
twe | とぇ | トェ | ทฺเวะ-ตฺเวะ | dwe | どぇ | ドェ | ดฺเวะ |
อักษรแบบอื่น
[แก้]ภาษาไอนุใช้คะตะกะนะแบบเติมฮันดะกุเต็ง ト゚ สำหรับใช้แทนเสียง [tu͍] ซึ่งสามารถเขียนด้วย ツ゚ แทนก็ได้ และใช้คะตะกะนะขนาดเล็ก ㇳ เป็นพยัญชนะสะกด [t̚] เหมือนการสะกดด้วย -ต
อักขระ | ยูนิโคด | จิส เอกซ์ 0213[1] | ความหมาย |
---|---|---|---|
と | U+3068 | 1-4-40 | ฮิระงะนะ โทะ |
ど | U+3069 | 1-4-41 | ฮิระงะนะ โดะ |
ト | U+30C8 | 1-5-40 | คะตะกะนะ โทะ |
ド | U+30C9 | 1-5-41 | คะตะกะนะ โดะ |
ト゚ | U+30C8 U+309A | 1-5-94 | คะตะกะนะ ทุ |
ㇳ | U+31F3 | 1-6-81 | คะตะกะนะ โทะ ตัวเล็ก |
㋣ | U+32E3 | 1-12-78 | คะตะกะนะ โทะ ในวงกลม |
ト | U+FF84 | ไม่มี | คะตะกะนะ โทะ ครึ่งความกว้าง |
ลำดับขีด
[แก้]ฮิระงะนะ と มีลำดับขีด 2 ขีดดังนี้
- ขีดเส้นเฉียงลงทางขวาขนาดสั้น จากตำแหน่งบน หยุดที่กึ่งกลางบรรทัด
- ขีดเส้นโค้งคล้ายตัว C ที่อ้ากว้าง เชื่อมกับปลายเส้นแรก
คะตะกะนะ ト มีลำดับขีด 2 ขีดดังนี้
- ขีดเส้นตั้งจากบนลงล่าง
- ขีดเส้นเฉียงลงทางขวาขนาดสั้น โดยเริ่มจากกึ่งกลางของเส้นแรก
คันจิ
[แก้]ตัวอย่างคันจิที่อ่านว่าโทะ และขึ้นต้นด้วยโทะ มีดังนี้
- 兎 吐 堵 塗 妬 屠 徒 斗 杜 渡 登 菟 賭 途 都 鍍 砥 砺 努 度
- 土 奴 怒 倒 党 冬 凍 刀 唐 塔 塘 套 宕 島 嶋 悼 投 搭 東 桃
- 梼 棟 盗 淘 湯 涛 灯 燈 当 痘 祷 等 答 筒 糖 統 到 董 蕩 藤
- 討 謄 豆 踏 逃 透 鐙 陶 頭 騰 闘 働 動 同 堂 導 憧 撞 洞 瞳
- 童 胴 萄 道 銅 峠 鴇 匿 得 徳 涜 特 督 禿 篤 毒 独 読 栃 橡
อ้างอิง
[แก้]- ↑ JIS拡張漢字(JIS X 0213:2004)(全コード表) (ญี่ปุ่น)