ข้ามไปเนื้อหา

เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2022

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2022
รายละเอียดการแข่งขัน
วันที่รอบคัดเลือก:
1 มีนาคม – 20 เมษายน พ.ศ. 2565
รอบการแข่งขันจริง:
15 เมษายน – 6 พฤษภาคม พ.ศ.2566
ทีมรอบการแข่งขันจริง: 40
ทั้งหมด (สูงสุด): 55 (จาก 25 สมาคม)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศประเทศญี่ปุ่น อูราวะ เรดไดมอนส์ (สมัยที่ 3)
รองชนะเลิศประเทศซาอุดีอาระเบีย อัล-ฮิลาล
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน130
จำนวนประตู384 (2.95 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม511,749 (3,937 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดประเทศเบลเยียม เอดมิลซง ฌูนีโอร์
(8 ประตู)
ผู้เล่นยอดเยี่ยมประเทศญี่ปุ่น ฮิโรกิ ซากาอิ[1]
รางวัลแฟร์เพลย์ประเทศญี่ปุ่น อูราวะ เรดไดมอนส์
2021

เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2022 เป็นครั้งที่ 41 ของการแข่งขันฟุตบอลสโมสรหลักของทวีปเอเชีย จัดขึ้นโดยสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (เอเอฟซี) และเป็นครั้งที่ 20 ภายใต้ชื่อรายการเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก

ผู้ชนะของทัวร์นาเมนต์จะได้ผ่านเข้าอัตโนมัติสำหรับเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2023–24 ผ่านเข้าสู่รอบคัดเลือกรอบเพลย์ออฟ ถ้าพวกเขาไม่ได้ผ่านการรับรองจากผลงานภายในประเทศ[2]

อัลฮิลาล ของซาอุดีอาระเบียคือแชมป์เก่า หลังจากพวกเขาเอาชนะสโมสรจากเกาหลีใต้ โพฮัง สตีลเลอส์ ในเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2021 นัดชิงชนะเลิศ

การจัดสรรทีมที่เข้าร่วมการแข่งขัน

[แก้]

47 ชาติสมาชิกเอเอฟซี คือจัดอันดับขึ้นอยู่กับผลงานประสิทธิภาพสโมสรของพวกเขาเหนือกว่าสี่ปีที่ผ่านมาในการแข่งขันเอเอฟซี (การจัดอันดับโลกของฟีฟ่า ของทีมชาติของพวกเขาจะไม่ได้ถูกพิจารณาอีกต่อไป)[3] สล็อตที่ได้รับการจัดสรรตามเกณฑ์ต่อไปนี้ตามคู่มือรายการ:[4]

การจัดอันดับของแต่ละสมาคม

[แก้]

สำหรับเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2022 แต่ละสมาคมได้รับการจัดสรรสล็อตตามพวกเขา จัดอันดับสมาคม ซึ่งเผยแพร่เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562[5][6] ซึ่งคำนึงถึงผลงานของพวกเขาในเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีกและเอเอฟซีคัพ ในช่วงระหว่างปี 2016 และ 2019

การเข้าร่วมสำหรับเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2022
ผ่านเกณฑ์การมีส่วนร่วม
ไม่ผ่านเกณฑ์การมีส่วนร่วม
หมายเหตุ
  1. ^
    Lebanon (LBN): Lebanon did not implement the club licensing system.[7]
  2. ^
    North Korea (PRK): North Korea did not implement the club licensing system.[7]

ทีม

[แก้]

ด้านล่างนี้คือ 52 ทีมที่มาจาก 23 สมาคมที่เข้าร่วมการแข่งขัน

ในตารางด้านล่างนี้ จำนวนของการลงสนามและการลงสนามครั้งล่าสุดนับเฉพาะตั้งแต่ฤดูกาล 2002–03 (รวมไปถึงรอบคัดเลือก) เมื่อการแข่งขันได้ถูกเปลี่ยนชื่อมาเป็น เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก

หมายเหตุ
  1. ^
    แชมป์เก่า (TH): อัลฮิลาลเป็นทีมชนะเลิศจากฤดูกาลที่แล้ว
  2. ^
    ออสเตรเลีย (AUS): เซ็นทรัลโคสต์มาริเนอส์ซึ่งเป็นทีมอันดับ 3 ของเอลีกฤดูกาลปกติผ่านเข้าชิงชนะเลิศเอฟเอฟเอคัพ 2021 รอพบผู้ชนะระหว่างเมลเบิร์นวิกตอรีและเวลลิงตันยูไนเต็ด ถ้าเมลเบิร์นวิกตอรีแพ้เวลลิงตันยูไนเต็ด สิทธินี้จะตกเป็นของเซ็นทรัลโคสต์มาริเนอส์ทันทีเนื่องจากเวลลิงตันยูไนเต็ดเป็นสโมสรจากประเทศนิวซีแลนด์และไม่สามารถเป็นตัวแทนประเทศออสเตรเลียได้
  3. ^
    จอร์แดน (JOR): อัลร็อมษอซึ่งชนะเลิศจอร์แดเนียนโปรลีก ฤดูกาล 2021 ไม่ผ่านเกณฑ์เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีกไลเซนส์ ทำให้สิทธินี้ตกเป็นของอัลวิห์ดาตซึ่งได้อันดับรองชนะเลิศ[7]
  4. ^
    ซาอุดีอาระเบีย (KSA): อัลอิติฮาดซึ่งได้อันดับ 3 ซาอุดีโปรเฟชชันนัลลีก ฤดูกาล 2020–21 ไม่ผ่านเกณฑ์เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีกไลเซนส์[8] ทำให้สิทธินี้ตกเป็นของอัตตะอาวูนซึ่งได้อันดับ 4[9]
  5. ^
    พม่า (MYA): เนื่องจากการระบาดทั่วของโควิด-19 ในประเทศพม่า ประกอบกับรัฐประหารและการประท้วงที่เกิดขึ้นตามมา ทำให้สหพันธ์ฟุตบอลพม่างดจัดการแข่งขันเมียนมาเนชันแนลลีกในฤดูกาล 2021 และให้ชาน ยูไนเต็ดซึ่งเป็นทีมชนะเลิศฤดูกาลก่อนหน้านี้ได้สิทธิเข้าแข่งขันแทน
  6. ^
    ฟิลิปปินส์ (PHI): เนื่องจากการระบาดทั่วของโควิด-19 ในประเทศฟิลิปปินส์ ทำให้สหพันธ์ฟุตบอลฟิลิปปินส์งดจัดการแข่งขันฟิลิปปินส์ฟุตบอลลีกในฤดูกาล 2021 และให้ยูไนเต็ดซิตีซึ่งเป็นทีมชนะเลิศฤดูกาลก่อนหน้านี้ได้สิทธิเข้าแข่งขันแทน[10]
  7. ^
    ซีเรีย (SYR): ติชรีนซึ่งชนะเลิศซีเรียนพรีเมียร์ลีก ฤดูกาล 2020–21 ไม่ผ่านเกณฑ์เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีกไลเซนส์ จึงทำให้สิทธินี้ตกเป็นของอัลญะอีช ส่วนติชรีนจะเข้าแข่งขันเอเอฟซีคัพ 2022[7][11]
  8. ^
    เติร์กเมนิสถาน (TKM): อาฮัลเป็นเพียงสโมสรเดียวที่ผ่านเกณฑ์เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีกไลเซนส์ ส่วนอัลตึนอาซืร์ซึ่งชนะเลิศโยการือลีกา ฤดูกาล 2021 ได้ผ่านเข้าแข่งขันเอเอฟซีคัพ 2022[7][11]
  9. ^
    เวียดนาม (VIE): เนื่องจากการระบาดทั่วของโควิด-19 ในประเทศเวียดนาม ทำให้สหพันธ์ฟุตบอลเวียดนามยุติการแข่งขันวี.ลีก ฤดูกาล 2021 และเวียดนามีสคัพ ฤดูกาล 2021 และให้ฮหว่างอัญซาลายซึ่งอยู่อันดับ 1 ในตารางคะแนนวี.ลีกเข้าแข่งขันเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก[12] ส่วนวิเอตเตล (อันดับ 2) และทัญกว๋างนิญ (อันดับ 3) ได้เข้าแข่งขันเอเอฟซีคัพ ทัญกว๋างนิญถอนตัวจากวี.ลีกและเอเอฟซีคัพในเวลาต่อมา[13]

ตารางการแข่งขัน

[แก้]

ด้านล่างนี้คือตารางของการแข่งขัน.[14][15]

รอบ การแข่งขัน วันจับสลาก วันแข่งขัน
รอบเบื้องต้น รอบเบื้องต้น ไม่มีการจับสลาก 8 มีนาคม 2565 (E)
รอบเพลย์ออฟ รอบเพลย์ออฟ 15 มีนาคม 2565
รอบแบ่งกลุ่ม นัดที่ 1 17 มกราคม 2565 7–8 เมษายน 2565 (W), 15–16 เมษายน 2565 (E)
นัดที่ 2 10–11 เมษายน 2565 (W), 18–19 เมษายน 2565 (E)
นัดที่ 3 14–15 เมษายน 2565 (W), 21–22 เมษายน 2565 (E)
นัดที่ 4 18–19 เมษายน 2565 (W), 24–25 เมษายน 2565 (E)
นัดที่ 5 22–23 เมษายน 2565 (W), 27–28 เมษายน 2565 (E)
นัดที่ 6 26–27 เมษายน 2565 (W), 30 เมษายน – 1 พฤษภาคม 2565 (E)
รอบแพ้คัดออก รอบ 16 ทีมสุดท้าย 3–4 กุมภาพันธ์ 2566 (W), 18–19 สิงหาคม 2565 (E)
รอบก่อนรองชนะเลิศ รอระบุ 7 กุมภาพันธ์ 2566 (W), 22 สิงหาคม 2565 (E)
รอบรองชนะเลิศ 10 กุมภาพันธ์ 2566 (W), 25 สิงหาคม 2565 (E)
รอบชิงชนะเลิศ 19 กุมภาพันธ์ 2566 26 กุมภาพันธ์ 2566
หมายเหตุ
  • E: โซนเอเชียตะวันออก
  • W: โซนเอเชียตะวันตก

รอบคัดเลือกเพลย์ออฟ

[แก้]

ในรอบคัดเลือกเพลย์ออฟแต่ละคู่จะลงเล่นในนัดเดียว การต่อเวลาพิเศษและการดวลลูกโทษจะถูกนำมาใช้ตัดสินหาทีมชนะเลิศในกรณีที่จำเป็น.[16]

รอบเบื้องต้น

[แก้]
ทีมหนึ่ง  ผล  ทีมสอง
โซนตะวันออก
ซิดนีย์ เอฟซี ประเทศออสเตรเลีย 5–0 ประเทศฟิลิปปินส์ คายา–อีโลอีโล
เมลเบิร์นวิกตอรี ประเทศออสเตรเลีย ยกเลิก[a] ประเทศพม่า ชันยูไนเต็ด

รอบเพลย์ออฟ

[แก้]
ทีมหนึ่ง  ผล  ทีมสอง
โซนตะวันตก
อัตตะอาวูน ประเทศซาอุดีอาระเบีย 1–1 (ต่อเวลาพิเศษ)
(ดวลลูกโทษ 5–4)
ประเทศซีเรีย อัลญะอีช
บะนัยยาส สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 0–2 ประเทศอุซเบกิสถาน นะซาฟ ควาร์ชี
ชาร์จาห์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 1–1 (ต่อเวลาพิเศษ)
(ดวลลูกโทษ 6–5)
ประเทศอิรัก อัซเซารออ์
ทีมหนึ่ง  ผล  ทีมสอง
โซนตะวันออก
ฉางชุนย่าไท่ ประเทศจีน ยกเลิก[b] ประเทศออสเตรเลีย ซิดนีย์ เอฟซี
วิสเซล โคเบะ ประเทศญี่ปุ่น 4–3 (ต่อเวลาพิเศษ) ประเทศออสเตรเลีย เมลเบิร์นวิกตอรี
อุลซันฮุนได ประเทศเกาหลีใต้ 3–0 ประเทศไทย การท่าเรือ
แทกู เอฟซี ประเทศเกาหลีใต้ 1–1 (ต่อเวลาพิเศษ)
(ดวลลูกโทษ 3–2)
ประเทศไทย บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด

รอบแบ่งกลุ่ม

[แก้]

กลุ่ม เอ

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ ประเทศซาอุดีอาระเบีย HIL ประเทศกาตาร์ RYN สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ SHJ ประเทศทาจิกิสถาน IST
1 ประเทศซาอุดีอาระเบีย อัลฮิลาล (H) 6 4 1 1 11 5 +6 13[c] ผ่านเข้าสู่ รอบ 16 ทีมสุดท้าย 0–2 2–1 1–0
2 ประเทศกาตาร์ อัรรอยยาน 6 4 1 1 10 7 +3 13[c] 0–3 3–1 1–0
3 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ชาร์จาห์ 6 1 2 3 7 11 −4 5 2–2 1–1 2–1
4 ประเทศทาจิกิสถาน อิสติคลอล 6 1 0 5 5 10 −5 3 0–3 2–3 2–0
แหล่งข้อมูล: เอเอฟซี
(H) เจ้าภาพ
หมายเหตุ:
  1. ชันยูไนเต็ด ถอนทีมออกจากเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีกและ เมลเบิร์นวิกตอรี จะเข้าสู่รอบเพลย์ออฟแทนที่ของรอบเบื้องต้น[17]
  2. ฉางชุนย่าไท่ ถอนตัวออกจากการแข่งขันหลังจากการจับสลาก. เอเอฟซีตัดสินใจที่จะยกเลิกแมตช์เพลย์ออฟและผู้ชนะของรอบเบื้องต้นระหว่าง ซิดนีย์ เอฟซี และ คายา-อิลอยโล จะได้ผ่านเข้าสู่รอบแบ่งกลุ่ม.[18]
  3. 3.0 3.1 เท่ากันด้วยคะแนนเฮด-ทู-เฮด. ผลต่างประตู เฮด-ทู-เฮด: อัลฮิลาล +1, อัรรอยยาน –1.

กลุ่ม บี

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ ประเทศซาอุดีอาระเบีย SHB ประเทศอินเดีย MUM ประเทศอิรัก AQW สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ AJZ
1 ประเทศซาอุดีอาระเบีย อัชชะบาบ (H) 6 5 1 0 18 1 +17 16 ผ่านเข้าสู่ รอบ 16 ทีมสุดท้าย 6–0 3–0 3–0
2 ประเทศอินเดีย มุมไบซิตี 6 2 1 3 3 11 −8 7[a] 0–3 1–0 0–0
3 ประเทศอิรัก อัลกุวะตุลญาวียะฮ์ 6 2 1 3 7 10 −3 7[a] 1–1 1–2 3–2
4 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัลญะซีเราะฮ์ 6 1 1 4 4 10 −6 4 0–2 1–0 1–2
แหล่งข้อมูล: เอเอฟซี
(H) เจ้าภาพ
หมายเหตุ:
  1. 1.0 1.1 คะแนน เฮด-ทู-เฮด: มุมไบซิตี 6, อัลกุวะตุลญาวียะฮ์ 0.

กลุ่ม ซี

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ ประเทศอิหร่าน FOO สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ SAH ประเทศกาตาร์ GHA ประเทศเติร์กเมนิสถาน AHA
1 ประเทศอิหร่าน ฟูลอด 6 3 3 0 5 2 +3 12 ผ่านเข้าสู่ รอบ 16 ทีมสุดท้าย 1–1 0–0 1–0
2 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ชะบาบอัลอะฮ์ลี 6 2 4 0 14 7 +7 10 1–1 8–2 2–1
3 ประเทศกาตาร์ อัลฆ็อรรอฟะฮ์ 6 1 2 3 7 14 −7 5 0–1 1–1 2–0
4 ประเทศเติร์กเมนิสถาน อาฮัล 6 1 1 4 6 9 −3 4 0–1 1–1 4–2
แหล่งข้อมูล: เอเอฟซี

กลุ่ม ดี

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ ประเทศกาตาร์ DUH ประเทศซาอุดีอาระเบีย TWN ประเทศอิหร่าน SEP ประเทศอุซเบกิสถาน PAK
1 ประเทศกาตาร์ อัดดุฮัยล์ 6 5 0 1 17 9 +8 15 ผ่านเข้าสู่ รอบ 16 ทีมสุดท้าย 1–2 5–2 3–2
2 ประเทศซาอุดีอาระเบีย อัตตะอาวูน (H) 6 2 1 3 13 12 +1 7[a] 3–4 3–0 0–1
3 ประเทศอิหร่าน แซพอแฮน 6 2 1 3 8 12 −4 7[a] 0–1 1–1 2–1
4 ประเทศอุซเบกิสถาน ปัคห์ตากอร์ 6 2 0 4 10 15 −5 6 0–3 5–4 1–3
แหล่งข้อมูล: เอเอฟซี
(H) เจ้าภาพ
หมายเหตุ:
  1. 1.0 1.1 คะแนน เฮด-ทู-เฮด: อัตตะอาวูน 4, แซพอแฮน 1.

กลุ่ม อี

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ ประเทศซาอุดีอาระเบีย FAI ประเทศอุซเบกิสถาน NAS ประเทศกาตาร์ SAD ประเทศจอร์แดน WEH
1 ประเทศซาอุดีอาระเบีย อัลฟัยศอลี (H) 6 2 3 1 5 4 +1 9[a] ผ่านเข้าสู่ รอบ 16 ทีมสุดท้าย 0–0 2–1 1–1
2 ประเทศอุซเบกิสถาน นะซาฟ ควาร์ชี 6 2 3 1 8 5 +3 9[a] 0–1 3–1 2–0
3 ประเทศกาตาร์ อัสซัดด์ 6 2 1 3 10 11 −1 7 1–0 1–1 5–2
4 ประเทศจอร์แดน อัลวิห์ดาต 6 1 3 2 9 12 −3 6 1–1 2–2 3–1
แหล่งข้อมูล: เอเอฟซี
(H) เจ้าภาพ
หมายเหตุ:
  1. 1.0 1.1 คะแนน เฮด-ทู-เฮด: อัลฟัยศอลี 4, นะซาฟ ควาร์ชี 1.

กลุ่ม เอฟ

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ ประเทศเกาหลีใต้ DAE ประเทศญี่ปุ่น URA ประเทศสิงคโปร์ LCS ประเทศจีน SDT
1 ประเทศเกาหลีใต้ แทกู เอฟซี 6 4 1 1 14 4 +10 13[a] ผ่านเข้าสู่ รอบ 16 ทีมสุดท้าย 1–0 0–3 4–0
2 ประเทศญี่ปุ่น อูราวะ เรดไดมอนส์ 6 4 1 1 20 2 +18 13[a] 0–0 6–0 5–0
3 ประเทศสิงคโปร์ ไลออนซิตีเซเลอส์ 6 2 1 3 8 14 −6 7 1–2 1–4 3–2
4 ประเทศจีน ชานตง ไท่ชาน 6 0 1 5 2 24 −22 1 0–7 0–5 0–0
แหล่งข้อมูล: เอเอฟซี
หมายเหตุ:
  1. 1.0 1.1 คะแนน เฮด-ทู-เฮด: แทกู เอฟซี 4, อูราวะ เรดไดมอนส์ 1.

กลุ่ม จี

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ ประเทศไทย BGP ประเทศออสเตรเลีย MCY ประเทศเกาหลีใต้ JND ประเทศฟิลิปปินส์ UCT
1 ประเทศไทย บีจี ปทุม ยูไนเต็ด (H) 6 3 3 0 11 2 +9 12 ผ่านเข้าสู่ รอบ 16 ทีมสุดท้าย 1–1 0–0 5–0
2 ประเทศออสเตรเลีย เมลเบิร์นซิตี 6 3 3 0 10 3 +7 12 0–0 2–1 3–0
3 ประเทศเกาหลีใต้ ช็อนนัมดรากอนส์ 6 2 2 2 5 5 0 8 0–2 1–1 2–0
4 ประเทศฟิลิปปินส์ ยูไนเต็ดซิตี 6 0 0 6 1 17 −16 0 1–3 0–3 0–1
แหล่งข้อมูล: เอเอฟซี
(H) เจ้าภาพ

กลุ่ม เอช

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ ประเทศญี่ปุ่น YFM ประเทศเกาหลีใต้ JBH ประเทศเวียดนาม HOA ประเทศออสเตรเลีย SYD
1 ประเทศญี่ปุ่น โยโกฮามะ เอ็ฟ มารินอส 6 4 1 1 9 3 +6 13 ผ่านเข้าสู่ รอบ 16 ทีมสุดท้าย 0–1 2–0 3–0
2 ประเทศเกาหลีใต้ ช็อนบุกฮุนไดมอเตอส์ 6 3 3 0 7 4 +3 12 1–1 1–0 0–0
3 ประเทศเวียดนาม ฮหว่างอัญซาลาย (H) 6 1 2 3 4 7 −3 5 1–2 1–1 1–0
4 ประเทศออสเตรเลีย ซิดนีย์ เอฟซี 6 0 2 4 3 9 −6 2 0–1 2–3 1–1
แหล่งข้อมูล: เอเอฟซี
(H) เจ้าภาพ

กลุ่ม ไอ

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ ประเทศมาเลเซีย JDT ประเทศญี่ปุ่น KSF ประเทศเกาหลีใต้ ULS ประเทศจีน GZH
1 ประเทศมาเลเซีย โจโฮร์ดารุลตักซิม (H) 6 4 1 1 11 7 +4 13 ผ่านเข้าสู่ รอบ 16 ทีมสุดท้าย 0–5 2–1 5–0
2 ประเทศญี่ปุ่น คาวาซากิ ฟรอนตาเล 6 3 2 1 17 4 +13 11 0–0 1–1 1–0
3 ประเทศเกาหลีใต้ อุลซันฮุนได 6 3 1 2 14 7 +7 10 1–2 3–2 3–0
4 ประเทศจีน กว่างโจว 6 0 0 6 0 24 −24 0 0–2 0–8 0–5
แหล่งข้อมูล: เอเอฟซี
(H) เจ้าภาพ

กลุ่ม เจ

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ ประเทศญี่ปุ่น VKO ฮ่องกง KIT ประเทศไทย CRU ประเทศจีน SHP
1 ประเทศญี่ปุ่น วิสเซล โคเบะ 4 2 2 0 10 3 +7 8 ผ่านเข้าสู่ รอบ 16 ทีมสุดท้าย 2–1 6–0 ยกเลิก
2 ฮ่องกง คิตฉี 4 2 1 1 7 6 +1 7 2–2 1–0 ยกเลิก
3 ประเทศไทย เชียงราย ยูไนเต็ด (H) 4 0 1 3 2 10 −8 1 0–0 2–3 ยกเลิก
4 ประเทศจีน เซี่ยงไฮ้พอร์ต 0 0 0 0 0 0 0 0 ถอนทีม[19] ยกเลิก ยกเลิก ยกเลิก
แหล่งข้อมูล: เอเอฟซี
(H) เจ้าภาพ

ตารางคะแนนของทีมอันดับสอง

[แก้]

โซนตะวันตก

[แก้]
อันดับ กลุ่ม ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 เอ ประเทศกาตาร์ อัรรอยยาน 6 4 1 1 10 7 +3 13 ผ่านเข้าสู่ รอบ 16 ทีมสุดท้าย
2 ซี สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ชะบาบอัลอะฮ์ลี 6 2 4 0 14 7 +7 10
3 อี ประเทศอุซเบกิสถาน นะซาฟ ควาร์ชี 6 2 3 1 8 5 +3 9
4 ดี ประเทศซาอุดีอาระเบีย อัตตะอาวูน 6 2 1 3 13 12 +1 7
5 บี ประเทศอินเดีย มุมไบซิตี 6 2 1 3 3 11 −8 7
แหล่งข้อมูล: เอเอฟซี
กฏการจัดอันดับ: 1) 1) คะแนน; 2) ผลต่างประตู; 3) ประตูที่ทำได้; 4) คะแนนทางวินัย; 5) จำนวนผลเสมอที่มากที่สุด..

โซนตะวันออก

[แก้]
อันดับ กลุ่ม ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 เอช ประเทศเกาหลีใต้ ช็อนบุกฮุนไดมอเตอส์ 4 2 2 0 3 1 +2 8 ผ่านเข้าสู่ รอบ 16 ทีมสุดท้าย
2 เอฟ ประเทศญี่ปุ่น อูราวะ เรดไดมอนส์ 4 2 1 1 10 2 +8 7
3 เจ ฮ่องกง คิตฉี 4 2 1 1 7 6 +1 7
4 จี ประเทศออสเตรเลีย เมลเบิร์นซิตี 4 1 3 0 4 3 +1 6
5 ไอ ประเทศญี่ปุ่น คาวาซากิ ฟรอนตาเล 4 1 2 1 8 4 +4 5
แหล่งข้อมูล: เอเอฟซี
กฏการจัดอันดับ: 1) 1) คะแนน; 2) ผลต่างประตู; 3) ประตูที่ทำได้; 4) คะแนนทางวินัย; 5) จำนวนผลเสมอที่มากที่สุด.

รอบแพ้คัดออก

[แก้]

สายการแข่งขัน

[แก้]
 
รอบ 16 ทีมสุดท้ายรอบก่อนรองชนะเลิศรอบรองชนะเลิศรอบชิงชนะเลิศ
 
                      
 
19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2023 – โดฮา
 
 
ประเทศกาตาร์ อัดดุฮัยล์ (ดวลลูกโทษ)1 (7)
 
23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2023 – โดฮา
 
ประเทศกาตาร์ อัรรอยยาน1 (6)
 
ประเทศกาตาร์ อัดดุฮัยล์2
 
19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2023 – อับ วาคราห์
 
ประเทศซาอุดีอาระเบีย อัชชะบาบ1
 
ประเทศซาอุดีอาระเบีย อัชชะบาบ2
 
26 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2023 – โดฮา
 
ประเทศอุซเบกิสถาน นะซาฟ ควาร์ชี0
 
ประเทศกาตาร์ อัดดุฮัยล์0
 
20 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2023 – โดฮา
 
ประเทศซาอุดีอาระเบียอัลฮิลาล7
 
ประเทศซาอุดีอาระเบีย อัลฟัยศอลี0
 
23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2023 – อับ วาคราห์
 
ประเทศอิหร่าน ฟูลอด1
 
ประเทศอิหร่าน ฟูลอด0
 
20 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2023 – อับ วาคราห์
 
ประเทศซาอุดีอาระเบีย อัลฮิลาล1
 
ประเทศซาอุดีอาระเบีย อัลฮิลาล3
 
29 เมษายน และ 6 พฤษภาคม ค.ศ. 2023
 
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ชะบาบอัลอะฮ์ลี1
 
ประเทศซาอุดีอาระเบีย อัลฮิลาล101
 
18 สิงหาคม ค.ศ. 2022 - ไซตามะ
 
ประเทศญี่ปุ่น อูราวะ เรดไดมอนส์112
 
ประเทศญี่ปุ่น วิสเซล โคเบะ3
 
22 สิงหาคม ค.ศ. 2022 - ไซตามะ
 
ประเทศญี่ปุ่น โยโกฮามะ เอ็ฟ มารินอส2
 
ประเทศญี่ปุ่น วิสเซล โคเบะ1
 
18 สิงหาคม ค.ศ. 2022 - อุราวะ โกมาบะ
 
ประเทศเกาหลีใต้ ช็อนบุกฮุนไดมอเตอส์ (ต่อเวลาพิเศษ)3
 
ประเทศเกาหลีใต้ แทกู เอฟซี1
 
25 สิงหาคม ค.ศ. 2022 - ไซตามะ
 
ประเทศเกาหลีใต้ ช็อนบุกฮุนไดมอเตอส์ (ต่อเวลาพิเศษ)2
 
ประเทศเกาหลีใต้ ช็อนบุกฮุนไดมอเตอส์2 (1)
 
19 สิงหาคม ค.ศ. 2022 - ไซตามะ
 
ประเทศญี่ปุ่น อูราวะ เรดไดมอนส์ (ดวลลูกโทษ)2 (3)
 
ประเทศมาเลเซีย โจโฮร์ดารุลตักซิม0
 
22 สิงหาคม ค.ศ. 2022 - ไซตามะ
 
ประเทศญี่ปุ่น อูราวะ เรดไดมอนส์5
 
ประเทศญี่ปุ่น อูราวะ เรดไดมอนส์4
 
19 สิงหาคม ค.ศ. 2022 - อุราวะ โกมาบะ
 
ประเทศไทย บีจี ปทุม ยูไนเต็ด0
 
ประเทศไทย บีจี ปทุม ยูไนเต็ด4
 
 
ฮ่องกง คิตฉี เอสซี0
 

รอบ 16 ทีมสุดท้าย

[แก้]

รอบ 16 ทีมสุดท้ายจะแข่งขันเพียงแค่เลคเดียว, การจัดโปรแกรมการแข่งขันใช้การจับฉลากคู่แข่งขันร่วมกับการพิจารณารองแชมป์กลุ่มที่ดีที่สุดผ่านเข้าสู่รอบนี้.

ทีมหนึ่ง  ผล  ทีมสอง
โซนตะวันตก
อัลฮิลาล ประเทศซาอุดีอาระเบีย 3–1 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ชะบาบอัลอะฮ์ลี
อัชชะบาบ ประเทศซาอุดีอาระเบีย 2–0 ประเทศอุซเบกิสถาน นะซาฟ ควาร์ชี
อัดดุฮัยล์ ประเทศกาตาร์ 1–1 (ต่อเวลาพิเศษ)
(ดวลลูกโทษ 7–6)
ประเทศกาตาร์ อัรรอยยาน
อัลฟัยศอลี ประเทศซาอุดีอาระเบีย 0–1 ประเทศอิหร่าน ฟูลอด


ทีมหนึ่ง  ผล  ทีมสอง
โซนตะวันออก
แทกู เอฟซี ประเทศเกาหลีใต้ 1–2 (ต่อเวลาพิเศษ) ประเทศเกาหลีใต้ ช็อนบุกฮุนไดมอเตอส์
บีจี ปทุม ยูไนเต็ด ประเทศไทย 4–0 ฮ่องกง คิตฉี
โจโฮร์ดารุลตักซิม ประเทศมาเลเซีย 0–5 ประเทศญี่ปุ่น อูราวะ เรดไดมอนส์
วิสเซล โคเบะ ประเทศญี่ปุ่น 3–2 ประเทศญี่ปุ่น โยโกฮามะ เอ็ฟ มารินอส


รอบก่อนรองชนะเลิศ

[แก้]

รอบก่อนรองชนะเลิศจะลงเล่นในเลกเดียว.

ทีมหนึ่ง  ผล  ทีมสอง
โซนตะวันตก
อัดดุฮัยล์ ประเทศกาตาร์ 2–1 ประเทศซาอุดีอาระเบีย อัชชะบาบ
ฟูลอด ประเทศอิหร่าน 0–1 ประเทศซาอุดีอาระเบีย อัลฮิลาล


ทีมหนึ่ง  ผล  ทีมสอง
โซนตะวันออก
วิสเซล โคเบะ ประเทศญี่ปุ่น 1–3 (ต่อเวลาพิเศษ) ประเทศเกาหลีใต้ ช็อนบุกฮุนไดมอเตอส์
อูราวะ เรดไดมอนส์ ประเทศญี่ปุ่น 4–0 ประเทศไทย บีจี ปทุม ยูไนเต็ด


รอบรองชนะเลิศ

[แก้]

รอบรองชนะเลิศจะลงเล่นในเลกเดียว.

ทีมหนึ่ง  ผล  ทีมสอง
โซนตะวันตก
อัดดุฮัยล์ ประเทศกาตาร์ 0–7 ประเทศซาอุดีอาระเบีย อัลฮิลาล


ทีมหนึ่ง  ผล  ทีมสอง
โซนตะวันออก
ช็อนบุกฮุนไดมอเตอส์ ประเทศเกาหลีใต้ 2–2 (ต่อเวลาพิเศษ)
(ดวลลูกโทษ 1–3)
ประเทศญี่ปุ่น อูราวะ เรดไดมอนส์


รอบชิงชนะเลิศ

[แก้]


รอบชิงชนะเลิศจะลงเล่นในสองเลก.

อัลฮิลาล ประเทศซาอุดีอาระเบีย1–1ประเทศญี่ปุ่น อูราวะ เรดไดมอนส์
รายงาน

อันดับดาวซัลโว

[แก้]
ณ วันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565
  ทีมนั้นตกรอบ / ไม่ได้อยู่ในรอบนี้.
  ผู้เล่นที่ไม่ได้อยู่ในทีม ณ เวลานั้นแต่ทีมยังมีสถานะอยู่สำหรับรอบนี้.
อันดับ ผู้เล่น ทีม MD1 MD2 MD3 MD4 MD5 MD6 R16 QF SF F1 F2 รวม
1 ประเทศเบลเยียม เอดมิลซง ฌูนีโอร์ ประเทศกาตาร์ อัดดุฮัยล์ 1 3 2 2 8
2 ประเทศไนจีเรีย โอดิออน อิกาโล ประเทศซาอุดีอาระเบีย อัล-ฮิลาล 2 1 4 7
ประเทศบราซิล เซกา ประเทศเกาหลีใต้ แทกู เอฟซี 3 1 1 1 1
4 ประเทศบราซิล เบร์กซง ประเทศมาเลเซีย โจโฮร์ดารุลตักซิม 3 1 2 6
ประเทศญี่ปุ่น ยูซูเกะ มัตซูโอะ ประเทศญี่ปุ่น อูราวะ เรดไดมอนส์ 1 2 2 1
ประเทศเคนยา ไมเคิล โอลุนกา ประเทศกาตาร์ อัดดุฮัยล์ 1 1 2 2
7 ประเทศอาร์เจนตินา เฟเดริโก การ์ตาเบีย สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ชะบาบอัลอะฮ์ลี 1 1 1 2 5
ประเทศบราซิล การ์ลูส ประเทศซาอุดีอาระเบีย อัชชะบาบ 2 2 1
ประเทศสวีเดน ดาวิด โมแบร์ย คาร์ลส์ซอน ประเทศญี่ปุ่น อูราวะ เรดไดมอนส์ 1 1 2 1
10 ประเทศโกตดิวัวร์ ยอฮัน บอลี ประเทศกาตาร์ อัรรอยยาน 2 1 4
ประเทศญี่ปุ่น ยู โคบายาชิ ประเทศญี่ปุ่น คาวาซากิ ฟรอนตาเล 2 2
ประเทศเดนมาร์ก แคสเปอร์ ยันเคอร์ ประเทศญี่ปุ่น อูราวะ เรดไดมอนส์ 1 2 1
ประเทศเติร์กเมนิสถาน อาร์สลันมายรัต อามานาว ประเทศเติร์กเมนิสถาน อาฮัล 1 3

หมายเหตุ: ประตูที่ทำได้ในการคัดเลือกเพลย์ออฟไม่นับรวมก็ต่อเมื่อมีการกำหนดอันดับดาวซัลโว (ดูที่กฏระเบียบ บทความที่ 64.4).[16]

ดูเพิ่ม

[แก้]

หมายเหตุ

[แก้]
  1. สนามกีฬาไซตามะ 2002 (ไซตามะ), สนามเหย้าตามปกติของอูราวะ เรดไดมอนส์ ซึ่งอาจจะไม่เปิดให้บริการได้เนื่องจากมีการปรับปรุงสนามในวันแรก (26 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2023). อูราวะ กำลังพิจารณาที่จะขอให้ เอเอฟซี เปลี่ยนตารางการแข่งขันนัดชิงชนะเลิศเพื่อจัดการแข่งขันในบ้านของพวกเขาที่ สนามกีฬาไซตามะ 2002.[20] ต่อมา, หลังจากตารางการแข่งขันครั้งที่สอง, แมตช์เหย้าของอูราวะจะลงเล่นในวันที่ 6 พฤษภาคม ค.ศ. 2023 ที่สนามกีฬาไซตามะ 2002.[21].

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Urawa's Hiroki Sakai crowned Most Valuable Player". the-afc.com (ภาษาอังกฤษ). Asian Football Confederation. 6 May 2023. สืบค้นเมื่อ 6 May 2023.
  2. "More Member Associations to benefit from inclusive AFC Champions League". the-afc.com. Asian Football Confederation. 23 November 2019. สืบค้นเมื่อ 14 January 2020.
  3. "AFC Club Competitions Ranking Mechanics". the-afc.com. Asian Football Confederation.
  4. "Entry Manual for AFC Club Competitions (2021 Edition)". the-afc.com. Asian Football Confederation.
  5. 5.0 5.1 5.2 "AFC Club Competitions Ranking". the-afc.com. Asian Football Confederation.
  6. "AFC Country Ranking 2019". FootyRankings. 24 November 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 June 2019. สืบค้นเมื่อ 24 November 2019.
  7. 7.0 7.1 7.2 7.3 7.4 "List of Licensed Clubs for the 2022 AFC Champions League" (PDF). the-afc.com. Asian Football Confederation. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2021-12-05. สืบค้นเมื่อ 2022-01-04.
  8. "رسمياً.. عدم منح الاتحاد والنصر الرخصة الآسيوية".
  9. "الهلال والشباب والفيصلي والتعاون لأبطال آسيا".
  10. Terrado, Jonas (31 October 2021). "United City to skip Copa Paulino Alcantara". Manila Bulletin. สืบค้นเมื่อ 1 November 2021.
  11. 11.0 11.1 "List of Licensed Clubs for the 2022 AFC Cup" (PDF). the-afc.com. Asian Football Confederation.
  12. Duc Dong (27 November 2021). "Hoang Anh Gia Lai to represent Vietnam in AFC Champions League 2022". VN Express International. สืบค้นเมื่อ 1 January 2022.
  13. @soccervietnam (24 September 2021). "Following the cancellation of the 2021 #vleague, it's now confirmed: no championship title awarded, no relegation / promotion, the ranking of teams after 12 rounds determines ACL & AFC allocations" (ทวีต). สืบค้นเมื่อ 24 September 2021 – โดยทาง ทวิตเตอร์.
  14. "AFC Competitions Calendar 2022". the-afc.com. Asian Football Confederation. 29 November 2019.
  15. "Latest update on the AFC Club Competitions in 2021 and 2022". the-afc.com. Asian Football Confederation. 5 July 2021.
  16. 16.0 16.1 "AFC Champions League 2022 Competition Regulations" (PDF). the-AFC.com. Asian Football Confederation.
  17. "AFC confirms the withdrawal of Myanmar clubs". the-afc.com. Asian Football Confederation. 19 January 2022.
  18. "Latest update on the AFC Champions League 2022".
  19. "Latest update on the AFC Champions League 2022™". the-AFC.com. Asian Football Confederation. 11 April 2022. สืบค้นเมื่อ 11 April 2022.
  20. "ACL2022決勝 第2戦の試合会場について(経過報告6)" [Stadium for ACL2022 Final second leg (progress 6)] (ภาษาญี่ปุ่น). Urawa Red Diamonds. 2022-11-10. สืบค้นเมื่อ 2022-11-18.
  21. "Qatar to stage decisive AFC Champions League 2022 (TM) (West) battles". Asian Football Confederation. 13 December 2022. สืบค้นเมื่อ 21 December 2022.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]