เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2019 นัดชิงชนะเลิศ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2019 นัดชิงชนะเลิศ
รายการเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2019
รวมผลสองนัด
เลกแรก
วันที่9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562
สนามคิง ซาอุด ยูนิเวอรฺซิตี สเตเดียม, รียาด
ผู้เล่นยอดเยี่ยม
ประจำนัด
อันเดร การ์ริโย (อัล-ฮิลาล)[1]
ผู้ตัดสินอาลี ซาบาห์ (อิรัก)[1]
ผู้ชม22,549 คน[1]
สภาพอากาศเย็นและสบาย
26 องศาเซลเซียส (79 องศาฟาเรนไฮต์)[1]
เลกที่สอง
วันที่24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562
สนามสนามกีฬาไซตะมะ 2002, ไซตามะ
ผู้เล่นยอดเยี่ยม
ประจำนัด
เซบัสเตียน โจวินโก (อัล-ฮิลาล)[2]
ผู้ตัดสินวาเลนติน คอวาเลนโก (อุซเบกิสถาน)[2]
ผู้ชม58,109 คน[2]
สภาพอากาศเย็นสบาย
14 องศาเซลเซียส (57 องศาฟาเรนไฮต์)[2]
2018
2020

การแข่งขัน เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2019 นัดชิงชนะเลิศ เป็นการแข่งขันนัดชิงชนะเลิศของ เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2019, เป็นครั้งที่ 38 ของทัวร์นาเมนต์ฟุตบอลระดับสูงสุดของสโมสรในทวีปเอเชียจัดตั้งขึ้นโดย สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (เอเอฟซี), และเป็นครั้งที่ 17 ภายใต้ชื่อ เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก.

ทีมที่ผ่านเข้ารอบ[แก้]

ทีม โซน ปีที่ผ่านมาที่ผ่านเข้ารอบชิงชนะเลิศ (ตัวหนา หมายถึง ชนะเลิศ)
ซาอุดีอาระเบีย อัล-ฮิลาล ภาคตะวันตก (โซน: WAFF) 6 (1986[A], 1987[B], 1991, 2000, 2014, 2017)
ญี่ปุ่น อูราวะ เรดไดมอนส์ ภาคตะวันออก (โซน: EAFF) 2 (2007, 2017)
หมายเหตุ
  • ^ รอบชิงชนะเลิศเมื่อปี 1986 เป็นการลงเล่นในรูปแบบพบกันหมดสี่ทีม, กับอัล-ฮิลาลสิ้นสุดในฐานะรองชนะเลิศ.
  • ^ อัล-ฮิลาล ไม่สามารถที่จะเข้าร่วมในรอบชิงชนะเลิศปี 1987 และหลังจากนั้นถูกประกาศในฐานะรองชนะเลิศ.
  • เส้นทางสู่นัดชิงชนะเลิศ[แก้]

    หมายเหตุ: (H: เหย้า; A: เยือน)

    ซาอุดีอาระเบีย อัล-ฮิลาล รอบ ญี่ปุ่น อูราวะ เรดไดมอนส์
    คู่แข่งขัน ผลการแข่งขัน รอบแบ่งกลุ่ม คู่แข่งขัน ผลการแข่งขัน
    สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล-อิน 1–0 (A) นัดที่ 1 ไทย บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 3–0 (H)
    ประเทศกาตาร์ อัล-ดูฮาอิล 3–1 (H) นัดที่ 2 จีน เป่ย์จิง เอฟซี 0–0 (A)
    อิหร่าน เอสเตกลาล 1–2 (A) นัดที่ 3 เกาหลีใต้ ช็อนบุก ฮุนได มอเตอส์ 0–1 (H)
    อิหร่าน เอสเตกลาล 1–0 (H) นัดที่ 4 เกาหลีใต้ ช็อนบุก ฮุนได มอเตอส์ 1–2 (A)
    สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล-อิน 2–0 (H) นัดที่ 5 ไทย บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 2–1 (A)
    ประเทศกาตาร์ อัล-ดูฮาอิล 2–2 (A) นัดที่ 6 จีน เป่ย์จิง เอฟซี 3–0 (H)
    ชนะเลิศ กลุ่ม ซี
    อันดับ ทีม เล่น คะแนน
    1 ซาอุดีอาระเบีย อัล-ฮิลาล 6 13
    2 ประเทศกาตาร์ อัล-ดูฮาอิล 6 9
    3 อิหร่าน เอสเตกลาล 6 8
    4 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล-อิน 6 2
    แหล่งที่มา : เอเอฟซี
    ตารางคะแนน รองชนะเลิศ กลุ่ม จี
    อันดับ ทีม เล่น คะแนน
    1 เกาหลีใต้ ช็อนบุก ฮุนได มอเตอส์ 6 13
    2 ญี่ปุ่น อูราวะ เรดไดมอนส์ 6 10
    3 จีน เป่ย์จิง เอฟซี 6 7
    4 ไทย บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 6 4
    แหล่งที่มา : เอเอฟซี
    คู่แข่งขัน รวมผลสองนัด นัดแรก นัดสอง รอบแพ้คัดออก คู่แข่งขัน รวมผลสองนัด นัดแรก นัดสอง
    ซาอุดีอาระเบีย อัล-อาห์ลี 4–3 4–2 (A) 0–1 (H) รอบ 16 ทีมสุดท้าย เกาหลีใต้ อุลซัน ฮุนได 4–2 1–2 (H) 3–0 (A)
    ซาอุดีอาระเบีย อัล-อิตติฮัด 3–1 0–0 (A) 3–1 (H) รอบก่อนรองชนะเลิศ จีน เซี่ยงไฮ้ เอสไอพีจี 3–3 (a) 2–2 (A) 1–1 (H)
    ประเทศกาตาร์ อัล-ซาดด์ 6–5 4–1 (A) 2–4 (H) รอบรองชนะเลิศ จีน กว่างโจว เอเวอร์แกรนด์ 3–0 2–0 (H) 1–0 (A)

    แมตช์[แก้]

    เลกแรก[แก้]

    สรุปผลการแข่งขัน[แก้]

    รายละเอียด[แก้]

    อัล-ฮิลาล
    อูราวะ เรดไดมอนส์
    GK 1 ซาอุดีอาระเบีย Abdullah Al-Mayouf
    RB 2 ซาอุดีอาระเบีย Mohammed Al-Breik
    CB 20 เกาหลีใต้ Jang Hyun-soo
    CB 5 ซาอุดีอาระเบีย Ali Al Bulaihi โดนใบเหลือง ใน 38 นาที 38'
    LB 12 ซาอุดีอาระเบีย Yasser Al-Shahrani
    RM 19 เปรู André Carrillo
    CM 7 ซาอุดีอาระเบีย Salman Al-Faraj (กัปตัน)
    CM 8 ซาอุดีอาระเบีย Abdullah Otayf Substituted off in the 89 นาที 89'
    LM 29 ซาอุดีอาระเบีย Salem Al-Dawsari
    CF 9 อิตาลี Sebastian Giovinco Substituted off in the 87 นาที 87'
    CF 18 ฝรั่งเศส Bafétimbi Gomis
    ผู้เล่นสำรอง:
    GK 30 ซาอุดีอาระเบีย Mohammed Al-Waked
    DF 70 ซาอุดีอาระเบีย Mohammed Jahfali
    MF 24 ซาอุดีอาระเบีย Nawaf Al Abed Substituted on in the 87 minute 87'
    MF 27 ซาอุดีอาระเบีย Hattan Bahebri
    MF 28 ซาอุดีอาระเบีย Mohamed Kanno Substituted on in the 89 minute 89'
    FW 10 ซาอุดีอาระเบีย Mohammad Al-Shalhoub
    FW 11 ซาอุดีอาระเบีย Saleh Al-Shehri
    ผู้จัดการทีม:
    โรมาเนีย Răzvan Lucescu
    GK 25 ญี่ปุ่น Haruki Fukushima
    CB 31 ญี่ปุ่น Takuya Iwanami
    CB 4 ญี่ปุ่น Daisuke Suzuki
    CB 5 ญี่ปุ่น Tomoaki Makino
    CM 8 บราซิล Ewerton
    CM 16 ญี่ปุ่น Takuya Aoki
    RM 27 ญี่ปุ่น Daiki Hashioka
    LM 41 ญี่ปุ่น Takahiro Sekine Substituted off in the 85 นาที 85'
    AM 7 ญี่ปุ่น Kazuki Nagasawa Substituted off in the 75 นาที 75'
    AM 12 บราซิล Fabrício
    CF 30 ญี่ปุ่น Shinzo Koroki (กัปตัน)
    ผู้เล่นสำรอง:
    GK 23 ญี่ปุ่น Nao Iwadate
    DF 2 บราซิล Maurício Antônio
    DF 3 ญี่ปุ่น Tomoya Ugajin Substituted on in the 85 minute 85'
    MF 10 ญี่ปุ่น Yōsuke Kashiwagi
    MF 22 ญี่ปุ่น Yuki Abe
    MF 29 ญี่ปุ่น Kai Shibato
    FW 14 ญี่ปุ่น Kenyu Sugimoto Substituted on in the 75 minute 75'
    ผู้จัดการทีม:
    ญี่ปุ่น Tsuyoshi Otsuki

    ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำนัด:
    André Carrillo (อัล-ฮิลาล)[1]

    ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:[1]
    Hayder Abdulhasan Ali Ubaydee (Iraq)
    Ameer Hussein (Iraq)
    ผู้ตัดสินที่สี่:
    Watheq Al-Swaiedi (Iraq)
    ผู้ช่วยผู้ตัดสินเพิ่มเติม:
    Mohanad Qasim Sarray (Iraq)
    Omar Al-Yaqoubi (Oman)

    กฏ-กติกา[3]

    • 90 นาที.
    • มีชื่อผู้เล่นสำรองเจ็ดคน, แต่ถูกนำมาใช้เปลี่ยนตัวได้แค่สามคน.

    สถิติ[แก้]

    โดยรวม
    สถิติ อัล-ฮิลาล อูราวะ เรดไดมอนส์
    ประตูที่ทำได้ 1 0
    ยิงทั้งหมด 22 2
    ยิงเข้ากรอบ 6 1
    ยิงติดบล็อก 8 1
    เปอร์เซ็นต์การครองบอล 70% 30%
    เตะมุม 9 2
    การผ่านบอล 680 293
    เสียฟาวล์ 10 12
    ล้ำหน้า 3 1
    ใบเหลือง 1 0
    ใบแดง 0 0

    เลกที่สอง[แก้]

    สรุปผลการแข่งขัน[แก้]

    รายละเอียด[แก้]

    อูราวะ เรดไดมอนส์
    อัล-ฮิลาล
    GK 1 ญี่ปุ่น Shusaku Nishikawa
    CB 31 ญี่ปุ่น Takuya Iwanami โดนใบเหลือง ใน 57 นาที 57'
    CB 4 ญี่ปุ่น Daisuke Suzuki
    CB 5 ญี่ปุ่น Tomoaki Makino โดนใบเหลือง ใน 76 นาที 76'
    CM 8 บราซิล Ewerton
    CM 16 ญี่ปุ่น Takuya Aoki โดนใบเหลือง ใน 53 นาที 53' Substituted off in the 88 นาที 88'
    RM 27 ญี่ปุ่น Daiki Hashioka
    LM 41 ญี่ปุ่น Takahiro Sekine โดนใบเหลือง ใน 43 นาที 43'
    AM 7 ญี่ปุ่น Kazuki Nagasawa Substituted off in the 63 นาที 63'
    AM 12 บราซิล Fabrício Substituted off in the 71 นาที 71'
    CF 30 ญี่ปุ่น Shinzo Koroki (กัปตัน)
    ผู้เล่นสำรอง:
    GK 25 ญี่ปุ่น Haruki Fukushima
    DF 2 บราซิล Maurício Antônio
    DF 3 ญี่ปุ่น Tomoya Ugajin
    MF 10 ญี่ปุ่น Yōsuke Kashiwagi Substituted on in the 63 minute 63'
    MF 22 ญี่ปุ่น Yuki Abe Substituted on in the 88 minute 88'
    MF 29 ญี่ปุ่น Kai Shibato
    FW 14 ญี่ปุ่น Kenyu Sugimoto Substituted on in the 71 minute 71'
    ผู้จัดการทีม:
    ญี่ปุ่น Tsuyoshi Otsuki
    GK 1 ซาอุดีอาระเบีย Abdullah Al-Mayouf
    RB 2 ซาอุดีอาระเบีย Mohammed Al-Breik Substituted off in the 80 นาที 80'
    CB 20 เกาหลีใต้ Jang Hyun-soo
    CB 5 ซาอุดีอาระเบีย Ali Al Bulaihi
    LB 12 ซาอุดีอาระเบีย Yasser Al-Shahrani
    RM 19 เปรู André Carrillo
    CM 7 ซาอุดีอาระเบีย Salman Al-Faraj (กัปตัน)
    CM 8 ซาอุดีอาระเบีย Abdullah Otayf Substituted off in the 90+4 นาที 90+4'
    LM 29 ซาอุดีอาระเบีย Salem Al-Dawsari
    CF 9 อิตาลี Sebastian Giovinco Substituted off in the 88 นาที 88'
    CF 18 ฝรั่งเศส Bafétimbi Gomis
    ผู้เล่นสำรอง:
    GK 30 ซาอุดีอาระเบีย Mohammed Al-Waked
    DF 17 ซาอุดีอาระเบีย Abdullah Al-Hafith Substituted on in the 80 minute 80'
    MF 24 ซาอุดีอาระเบีย Nawaf Al Abed
    MF 27 ซาอุดีอาระเบีย Hattan Bahebri
    MF 28 ซาอุดีอาระเบีย Mohamed Kanno Substituted on in the 88 minute 88'
    FW 10 ซาอุดีอาระเบีย Mohammad Al-Shalhoub Substituted on in the 90+4 minute 90+4'
    FW 11 ซาอุดีอาระเบีย Saleh Al-Shehri
    ผู้จัดการทีม:
    โรมาเนีย Răzvan Lucescu

    ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำนัด:
    Sebastian Giovinco (อัล-ฮิลาล)[2]

    ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:[2]
    Andrey Tsapenko (Uzbekistan)
    Timur Gaynullin (Uzbekistan)
    ผู้ตัดสินที่สี่:
    Ruslan Seratzidinov (Uzbekistan)
    ผู้ช่วยผู้ตัดสินเพิ่มเติม:
    Aziz Asimov (Uzbekistan)
    Ilgiz Tantashev (Uzbekistan)

    กฏ-กติกา[3]

    • 90 นาที.
    • 30 นาทีของ การต่อเวลาพิเศษ ถ้าเสมอกันในการรวมผลสองนัดและ ประตูทีมเยือน.
    • การดวลลูกโทษ ถ้าผลการแข่งขันยังเสมอกันหลังต่อเวลาพิเศษ (ไม่มีกฏประตูทีมเยือนนำมาประยุกต์).
    • มีชื่อผู้เล่นสำรองเจ็ดคน, แต่ถูกนำมาใช้เปลี่ยนตัวได้แค่สามคน.

    สถิติ[แก้]

    โดยรวม
    สถิติ อูราวะ เรดไดมอนส์ อัล-ฮิลาล
    ประตูที่ทำได้ 0 2
    ยิงทั้งหมด 6 19
    ยิงเข้ากรอบ 2 8
    ยิงติดบล็อก 2 7
    เปอร์เซ็นต์การครองบอล 54% 46%
    เตะมุม 5 27
    การผ่านบอล 370 307
    เสียฟาวล์ 13 20
    ล้ำหน้า 2 4
    ใบเหลือง 4 0
    ใบแดง 0 0

    ดูเพิ่ม[แก้]

    อ้างอิง[แก้]

    1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 "Al Hilal SFC v Urawa Red Diamonds". the-afc.com. Asian Football Confederation. 9 พฤศจิกายน 2019. สืบค้นเมื่อ 10 พฤศจิกายน 2019.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
    2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 "Urawa Red Diamonds v Al Hilal SFC". the-afc.com. Asian Football Confederation. 24 พฤศจิกายน 2019. สืบค้นเมื่อ 24 พฤศจิกายน 2019.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
    3. 3.0 3.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ regulations

    แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]