จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ช็อนบุกฮุนไดมอเตอส์ (เกาหลี: 전북 현대 모터스 FC; อังกฤษ: Jeonbuk Hyundai Motors FC, ช็อนบุกฮย็อนแดมอเตอส์) เป็นสโมสรฟุตบอลอาชีพตั้งอยู่ในจังหวัดจ็อลลาเหนือ, ประเทศเกาหลีใต้ สนามเหย้าของสโมสรชื่อชอนจูเวิลด์คัพสเตเดียม มีความจุที่นั่งทั้งหมด 43,348 ที่นั่ง ตั้งอยู่ที่เมืองชอนจู ซี่งเป็นเมืองหลวงของจังหวัดจ็อลลาเหนือ สโมสรสามารถเลื่อนชั้นขึ้นมาอยู่ เคลีก ลีกฟุตบอลอาชีพสูงของเกาหลีใต้เมื่อปี ค.ศ. 2009 และสโมสรเคยเข้าร่วมการแข่งขันในเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก รายการฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรเอเชียที่ใหญ่ที่สุดและเป็นแชมป์ได้ในปี ค.ศ. 2006 และเป็นสโมสรแรกจากเอเชียตะวันออกที่สามารถคว้าแชมป์เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีกได้นับตั้งแต่เปลี่ยนกฏกติกาใหม่ในปี ค.ศ. 2003 และได้มีสิทธิไปเล่นในฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก ในปี 2006 ที่ประเทศญี่ปุ่น กับแชมป์ฟุตบอลสโมสรของแต่ละทวีป
ช็อนบุกเคยคว้าแชมป์ โคเรียเอฟเอคัพ ได้ 3 สมัยคือ ในปี 2000, 2003 และ 2005 และได้แชมป์เคลีกถึง 8 สมัยคือในปี 2009, 2011, 2014-2015, 2017-2020 ซึ่งถือว่าเป็นเกียรติประวัติครั้งยิ่งใหญ่ของสโมสร ช็อนบุกได้แชมป์เอเอฟซี แชมป์เปี้ยนลีกส์ 2 สมัยคือในปี 2006 (ชนะ อัล คารามาส์ 3-2) และ 2016 (ชนะ อัล-อิน 3-2) รองแชมป์ในปี 2011 (เสมอ อัล ซาดด์ 2-2 (อัล ซาดด์ ชนะจุดโทษ 4-2))
ผู้เล่นชุดปัจจุบัน[แก้]
- ข้อมูลล่าสุดเมื่อวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2564
หมายเหตุ: ธงชาติที่ปรากฏบ่งบอกให้ทราบว่าผู้เล่นคนนั้นสามารถเล่นให้กับชาติใดตามกฎของฟีฟ่าตามความเหมาะสม เพราะผู้เล่นบางคนอาจถือสองสัญชาติ
ผู้เล่นที่ถูกปล่อยยืมตัว[แก้]
หมายเหตุ: ธงชาติที่ปรากฏบ่งบอกให้ทราบว่าผู้เล่นคนนั้นสามารถเล่นให้กับชาติใดตามกฎของฟีฟ่าตามความเหมาะสม เพราะผู้เล่นบางคนอาจถือสองสัญชาติ
เกียรติประวัติของสโมสร[แก้]
ภายในประเทศ[แก้]
- ชนะเลิศ (9) : 2009, 2011, 2014, 2015, 2017, 2018, 2019, 2020, 2021
- รองชนะเลิศ (2) : 2012, 2016
- ชนะเลิศ (5) : 2000, 2003, 2005, 2020, 2022
- รองชนะเลิศ (2) : 1999, 2013
- ชนะเลิศ (1) : 2004
- รองชนะเลิศ (2) : 2001, 2006
- ชนะเลิศ (1) : 1999
ระดับนานาชาติ[แก้]
- ชนะเลิศ (2) : 2006, 2016
- รองชนะเลิศ (1) : 2011
- รองชนะเลิศ (1) : 2002
- อันดับที่ 5 (2): 2006, 2016
แบรนด์เสื้อของสโมสร[แก้]
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]
|
---|
แชมป์ 4 สมัย | | |
---|
แชมป์ 3 สมัย | |
---|
แชมป์ 2 สมัย | กว่างโจว (2013, 2015) • ช็อนบุกฮุนไดมอเตอส์ (2006, 2016) • ซูว็อนซัมซุงบลูวิงส์ (2001, 2002) • อุลซันฮุนได (2012, 2020) • เอสเตกฮลัล (1970, 1990) • ซ็องนัม (1995, 2010) • อัลอิตติฮัด (2004, 2005) • อัสซัดด์ (1989, 2011) • ธนาคารกสิกรไทย (1994, 1995) • มัคคาบีเทลอาวีฟ (1969, 1971) |
---|
แชมป์สมัยเดียว | |
---|
|
---|
แชมป์ 9 สมัย | | |
---|
แชมป์ 7 สมัย | ซ็องนัม (1993, 1994, 1995, 2001, 2002, 2003, 2006) |
---|
แชมป์ 6 สมัย | เอฟซีโซล (1985, 1990, 2000, 2010, 2012, 2016) |
---|
แชมป์ 5 สมัย | |
---|
แชมป์ 4 สมัย | |
---|
แชมป์ 3 สมัย | |
---|
แชมป์สมัยเดียว | |
---|