ข้ามไปเนื้อหา

เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2020 นัดชิงชนะเลิศ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2020 นัดชิงชนะเลิศ
รายการเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2020
วันที่19 ธันวาคม พ.ศ. 2563
สนามอัล จานูบ สเตเดียม, อัล วาคราห์
ผู้ตัดสินอับดุลระห์มัน อัล-จัสซิม (กาตาร์)
สภาพอากาศมีเมฆเป็นส่วนมาก
24 °C (75 °F)
2019
2021

เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2020 นัดชิงชนะเลิศ จะเป็นนัดชิงชนะเลิศของ เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2020, ครั้งที่ 39 ของทัวร์นาเมนต์ฟุตบอลสโมสรเอเชียระดับสูงสุดจัดขึ้นโดย สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (เอเอฟซี), และเป็นครั้งที่ 18 ภายใต้ชื่อรายการปัจจุบัน เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก.

รอบชิงชนะเลิศจะเป็นการแข่งขันแบบนัดเดียวระหว่าง เพร์สโพลีส จาก อิหร่าน และหนึ่งทีมที่จะรอกำหนด. ภายใต้รูปแบบเดิมและกำหนดการเดิม, รอบชิงชนะเลิศจะถูกแข่งขันในรูปแบบเหย้าและเยือน, กับเลกแรกจะลงเล่นในวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563 และเลกที่สองจะลงเล่นในวันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563. อย่างไรก็ตาม, เนื่องจาก การระบาดทั่วโควิด-19, ทัวร์นาเมนต์จะถูกระงับระหว่างเดือนมีนาคมและกันยายน พ.ศ. 2563, และเมื่อรีสตาร์ท, แมตช์ทั้งหมดถูกย้ายไปสถานที่เป็นกลางใน ประเทศกาตาร์, และรอบชิงชนะเลิศจะลงเล่นที่ อัล จานูบ สเตเดียม ใน อัล วาคราห์ เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2563.[1]

ทีมที่ชนะเลิศของเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีกจะได้สิทธิ์สำหรับ ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2020 ใน ประเทศกาตาร์.

ทีม

[แก้]

ในตารางด้านล่างนี้, รอบชิงชนะเลิศจนถึงปี 2002 จะเป็นยุคสมัย เอเชียนคลับแชมเปียนชิป, นับตั้งแต่ปี 2003 จะเป็นยุคสมัยเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก.

ทีม โซน การลงสนามรอบชิงชนะเลิศครั้งที่ผ่านมา (ตัวหนาหมายถึงทีมที่ชนะเลิศ)
อิหร่าน เพร์สโพลีส ภาคตะวันตก (โซน: CAFA) 1 (2018)
เกาหลีใต้ อุลซันฮุนได ภาคตะวันออก (โซน: EAFF) 1 (2012)

สนามแข่งขัน

[แก้]

ในวันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2563, ทางเอเอฟซีได้ประกาศว่ารอบชิงชนะเลิศจะลงเล่นในโดฮา, ประเทศกาตาร์.[1]

เส้นทางสู่รอบชิงชนะเลิศ

[แก้]

หมายเหตุ: ในผลการแข่งขันทั้งหมดด้านล่างนี้, สกอร์ของผู้เข้าชิงชนะเลิศจะได้รับเป็นเลขแรก (H: เหย้า; A: เยือน; *: ลงเล่นในกาตาร์หลังจากรีสตาร์ท).

อิหร่าน เพร์สโพลีส รอบ เกาหลีใต้ อุลซันฮุนได
คู่แข่งขัน ผล รอบแบ่งกลุ่ม คู้แข่งขัน ผล
ประเทศกาตาร์ อัล-ดูฮาอิล 0–2 (A) นัดที่ 1 ญี่ปุ่น เอฟซี โตเกียว 1–1 (A)
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ชาร์จาห์ 2–2 (A) นัดที่ 2 จีน เซี่ยงไฮ้ เสิ่นหัว 3–1 (H*)
ซาอุดีอาระเบีย อัล-ตาอาวูน 1–0 (H*) นัดที่ 3 ออสเตรเลีย เพิร์ท กลอรี 2–1 (A*)
ซาอุดีอาระเบีย อัล-ตาอาวูน 1–0 (A*) นัดที่ 4 ออสเตรเลีย เพิร์ท กลอรี 2–0 (H*)
ประเทศกาตาร์ อัล-ดูฮาอิล 0–1 (H*) นัดที่ 5 ญี่ปุ่น เอฟซี โตเกียว 2–1 (A*)
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ชาร์จาห์ 4–0 (H*) นัดที่ 6 จีน เซี่ยงไฮ้ เสิ่นหัว 4–1 (A*)
กลุ่ม ซี ชนะเลิศ
อันดับ ทีม เล่น คะแนน
1 อิหร่าน เพร์สโพลีส 6 10
2 ซาอุดีอาระเบีย อัล-ตาอาวูน 6 9
3 ประเทศกาตาร์ อัล-ดูฮาอิล 6 9
4 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ชาร์จาห์ 6 7
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
ตารางคะแนน กลุ่ม เอฟ ชนะเลิศ
อันดับ ทีม เล่น คะแนน
1 เกาหลีใต้ อุลซันฮุนได 6 16
2 ญี่ปุ่น เอฟซี โตเกียว 6 10
3 จีน เซี่ยงไฮ้ เสิ่นหัว 6 7
4 ออสเตรเลีย เพิร์ทกลอรี 6 1
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
คู่แข่งขัน ผล รอบแพ้คัดออก คู่แข่งขัน ผล
ประเทศกาตาร์ อัล-ซัดด์ 1–0 (*) รอบ 16 ทีมสุดท้าย ออสเตรเลีย เมลเบิร์นวิกตอรี 3–0 (*)
อุซเบกิสถาน ปัคห์ตากอร์ 2–0 (*) รอบก่อนรองชนะเลิศ จีน เป่ย์จิง เอฟซี 2–0 (*)
ซาอุดีอาระเบีย อัล-นัสเซอร์ 1–1
(ต่อเวลา)
(ดวลลูกโทษ 5–3) (*)
รอบรองชนะเลิศ ญี่ปุ่น วิสเซล โคเบะ 2–1
(ต่อเวลา) (*)

รูปแบบ

[แก้]

รอบชิงชนะเลิศจะลงเล่นในแมตช์เดียว. ถ้าเสมอไว้หลังเวลาที่กำหนด, ต่อเวลาพิเศษ และ, ในกรณีที่จำเป็น, การดวลลูกโทษ คือวิธีที่จะใช้ตัดสินหาทีมผู้ชนะ.[2]

แมตช์

[แก้]

รายละเอียด

[แก้]
เพร์สโพลีส
อุลซันฮุนได
GK 81 อิหร่าน ฮะเหม็ด ลัก
RB 17 อิหร่าน เมห์ดี ชิรี Substituted off in the 74th นาที 74'
CB 6 อิหร่าน ฮอสซีน คานาอานิซาเดกัน
CB 4 อิหร่าน จะลัล ฮอสไซนี (กัปตัน)
LB 77 อิหร่าน ซะอีด อักฮะไอ
CM 66 อิหร่าน มิลัด ซาร์ลัก
CM 8 อิหร่าน อะห์หมัด นูโรลลาฮี
RM 88 อิหร่าน เซียมัก เนมาติ
AM 5 อิรัก บาชาร์ เรซัน
LM 2 อิหร่าน โอมิด อะลีชาห์ Substituted off in the 90th นาที 90'
CF 16 อิหร่าน เมห์ดี อับดี
ตัวสำรอง:
GK 34 อิหร่าน อะมีร์ โมฮัมหมัด ยูเซฟี
GK 44 โครเอเชีย บอชิดาร์ ราดอเชวิช
DF 15 อิหร่าน โมฮัมหมัด อันซารี
DF 38 อิหร่าน เอห์ซัน ฮอสไซนี
MF 11 อิหร่าน คะมัล คัมยาบิเนีย
MF 23 อิหร่าน อะลี โชจาอี Substituted on in the 90th minute 90'
MF 26 อิหร่าน ซะอีด ฮอสซีนปัวร์
FW 25 อิหร่าน อะเรีย บาร์เซการ์
FW 36 อิหร่าน อาร์มัน ราเมซานี Substituted on in the 74th minute 74'
ผู้จัดการทีม:
อิหร่าน ยะห์ยา โกลโมฮัมมาดี
GK 1 เกาหลีใต้ โจ ซู-ฮุก
RB 23 เกาหลีใต้ คิม แท-ฮวัน
CB 44 เกาหลีใต้ คิม คี-ฮี
CB 4 เนเธอร์แลนด์ ดาฟี บุลต์ฮุยส์ โดนใบเหลือง ใน 79th นาที 79'
LB 6 เกาหลีใต้ พัก จู-โฮ Substituted off in the 72nd นาที 72'
DM 16 เกาหลีใต้ ว็อน ดู-แจ
RM 72 เกาหลีใต้ อี ชุง-ย็อง Substituted off in the 72nd นาที 72'
CM 10 เกาหลีใต้ ยูน บิต-การัม
CM 8 เกาหลีใต้ ซิน จิน-โฮ (กัปตัน) Substituted off in the 83rd นาที 83'
LM 7 เกาหลีใต้ คิม อิน-ซุง Substituted off in the 90+1st นาที 90+1'
CF 9 บราซิล ฌูนีโอร์ เนเกรา โดนใบเหลือง ใน 82nd นาที 82' Substituted off in the 83rd นาที 83'
ตัวสำรอง:
GK 25 เกาหลีใต้ ซอ จู-ฮวัน
DF 2 เกาหลีใต้ เจือง ด็อง-โฮ
DF 15 เกาหลีใต้ จุง ซึง-ฮุน Substituted on in the 83rd minute 83'
DF 66 เกาหลีใต้ ซ็อล ยัง-วู Substituted on in the 90+1st minute 90+1'
DF 77 เกาหลีใต้ ฮ็อง ชุล Substituted on in the 72nd minute 72'
MF 22 เกาหลีใต้ โคห์ เมียง-จิน
MF 17 เกาหลีใต้ คิม ซุง-จูน
MF 98 เกาหลีใต้ อี ซัง-เฮือน
FW 11 เกาหลีใต้ อี คึน-โฮ Substituted on in the 72nd minute 72'
FW 19 นอร์เวย์ บียอร์น มาร์ส ยอห์นเซน Substituted on in the 83rd minute 83'
ผู้จัดการทีม:
เกาหลีใต้ คิม โด-ฮูน

ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำนัด:

ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:
Ramzan Al-Naemi (กาตาร์)
Saud Al-Maqaleh (กาตาร์)
ผู้ตัดสินที่สี่:
Hettikamkanamge Perera (ศรีลังกา)
ผู้ตัดสินที่ห้า:
Mohd Yusri Muhamad (มาเลเซีย)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:
Khamis Al-Marri (กาตาร์)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินจากการใช้วิดีโอช่วยตัดสิน:
Adham Makhadmeh (จอร์แดน)
Mohd Amirul Izwan Yaacob (มาเลเซีย)

กฏ-กติกา[2]

  • 90 นาที.
  • 30 นาทีของ การต่อเวลาพิเศษถ้าเสมอกัน.
  • การดวลลูกโทษ ถ้าผลการแข่งขันยังเสมอกันหลังต่อเวลาพิเศษ.
  • มีชื่อผู้เล่นสำรองสิบคน, ซึ่งอาจจะใช้ได้ถึงห้าคน, กับอนุญาตเปลี่ยนตัวคนที่หกในช่วงต่อเวลาพิเศษ.

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 "AFC Champions League Final to be played in Doha, Qatar". AFC. 16 October 2020.
  2. 2.0 2.1 "2020 AFC Champions League Competition Regulations". Asian Football Confederation. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-10-31. สืบค้นเมื่อ 2020-12-10.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]