เกาะซูลาเวซี
แผนที่ภูมิประเทศของเกาะซูลาเวซี | |
แผนที่เขตการปกครองบนเกาะซูลาเวซี | |
ภูมิศาสตร์ | |
---|---|
ที่ตั้ง | ประเทศอินโดนีเซีย |
พิกัด | 02°S 121°E / 2°S 121°E |
กลุ่มเกาะ | หมู่เกาะซุนดาใหญ่ |
พื้นที่ | 180,680.7 ตารางกิโลเมตร (69,761.2 ตารางไมล์) |
อันดับพื้นที่ | ที่ 11 |
ระดับสูงสุด | 3,478 ม. (11411 ฟุต) |
จุดสูงสุด | ลาตีโมจง |
การปกครอง | |
อินโดนีเซีย | |
จังหวัด (เมืองหลัก) | |
เมืองใหญ่สุด | มากัซซาร์ (ประชากร 1,423,877 คน) |
ประชากรศาสตร์ | |
ประชากร | 19,896,951 (สำมะโน 2020) |
ความหนาแน่น | 105.5/กม.2 (273.2/ตารางไมล์) |
กลุ่มชาติพันธุ์ | มากัซซาร์, บูกิซ, มันดาร์, มีนาฮาซา, โก-รนตาโล, โตราจา, บูตน, มูนา, โตลากี, Bajau, Mongondow |
ซูลาเวซี (อินโดนีเซีย: Sulawesi) หรือเดิมเรียกว่า เซเลบีส (อังกฤษ: Celebes) ซึ่งมาจากภาษาโปรตุเกส เป็นหนึ่งในเกาะซุนดาใหญ่ 4 เกาะของประเทศอินโดนีเซีย
ชาวยุโรปพวกแรกที่เดินทางมายังเกาะแห่งนี้ คือ กะลาสีเรือชาวโปรตุเกส เมื่อ พ.ศ. 2055 และนับตั้งแต่ พ.ศ. 2212 เป็นต้นมา บริษัทอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ก็ได้ตั้งมั่นอยู่ที่มากัซซาร์ (Makassar) และเมื่อ พ.ศ. 2448 พื้นที่ทั้งเกาะกลายเป็นส่วนหนึ่งของนิคมชาวดัตช์อินเดียตะวันออก กระทั่งอินโดนีเซียประกาศเอกราชเมื่อ พ.ศ. 2498
ศัพทมูลวิทยา
[แก้]ชื่อ ซูลาเวซี น่าจะมาจากคำว่า ซูลา ("เกาะ") กับ เบอซี ("เหล็ก") และอาจสื่อถึงการนำเข้าเหล็กจากตะกอนเหล็กที่มีอยู่มากในทะเลสาบมาตาโนในอดีต[1]
ส่วนชื่อ "เซเลบีส" มาจากนักเดินทางชาวโปรตุเกสที่เรียกเกาะนี้ แม้ว่าความหมายนั้นไม่ปรากฏชัด ชื่อนี้อาจถือเป็นการเรียกชื่อพื้นเมืองของเกาะ "Sulawesi" ตามภาษาโปรตุเกส[2]
เศรษฐกิจ
[แก้]เศรษฐกิจบนเกาะซูลาเวซีมุ่งเน้นอยู่ที่การเกษตร การประมง เหมืองแร่ และการป่าไม้[3]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Watuseke, F. S. 1974. On the name Celebes. Sixth International Conference on Asian History, International Association of Historians of Asia, Yogyakarta, 26–30 August. Unpublished.
- ↑ Everett-Heath, John (2018). The concise dictionary of world place-names (Fourth ed.). [Oxford]: Oxford University Press. p. 1131. ISBN 9780191866326. OCLC 1053905476.
- ↑ "indahnesia.com – Sulawesi island – Economy – Clove, shrimps and tourists – Discover Indonesia Online". indahnesia.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-12-28. สืบค้นเมื่อ 2020-12-19.
ข้อมูล
[แก้]- Limits of Oceans and Seas, 3rd ed. (PDF), International Hydrographic Organization, 1953, คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 5 October 2018, สืบค้นเมื่อ 6 October 2015.
- Von Rintelen, T.; และคณะ (2014), "A Snail Perspective on the Biogeography of Sulawesi, Indonesia: Origin and Intra-Island Dispersal of the Viviparous Freshwater Gastropod Tylomelania", PLOS ONE, 9 (6): e98917, Bibcode:2014PLoSO...998917V, doi:10.1371/journal.pone.0098917, PMC 4090239, PMID 24971564.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- คู่มือการท่องเที่ยว เกาะซูลาเวซี จากวิกิท่องเที่ยว (ในภาษาอังกฤษ)