อักษรโวลอฟ
หน้าตา
อักษรอาหรับสำหรับภาษาโวลอฟ หรืออักษรโวโลฟัล (Wolofal) เป็นอักษรอาหรับรูปแบบหนึ่งสำหรับใช้เขียนภาษาโวลอฟ สิ่งนี้เป็นพื้นฐานของอักษรอยามีในแอฟริกาตะวันตก
อักษรอาหรับนี้เป็นอักษรชนิดแรกที่ใช้เขียนภาษาโวลอฟ แม้ว่าในปัจจุบันจะใช้อักษรละตินเป็นอักษรทางการในเซเนกัล แต่ก็ยังมีการใช้อักษรอาหรับในชนบางกลุ่มเพื่อบ่งถึงวัฒนธรรมอิสลามในหมู่ชาวโวลอฟ[ต้องการอ้างอิง]
อักษรโวลอฟ | รูปแบบอื่น | อักษรละติน | ออกเสียง |
---|---|---|---|
ب | b | [b] | |
ݖ | چ, جۛ | c | [c] |
د | d | [d] | |
ف | ڢ | f | [ɸ] |
گ | ڭ | g | [ɡ] |
ه | h | [h] | |
ج | j | [dʒ] | |
ک | k | [k] | |
ل | l | [l] | |
م | m | [m] | |
ن | n | [n] | |
ݧ | چ, جۛ | ñ | [ɲ] |
ݝ | ݤ,ڭ | ŋ | [ŋ] |
ݒ | پ, ݑ | p | [p] |
ق | q | [q] | |
ر | r | [ɾ] | |
س | s | [s] | |
ت | t | [t] | |
و | w | [w] | |
خ | x | [x] | |
ي | y | [j] |
รูปสระสั้นในภาษาอาหรับเขียนอย่างเป็นระบบ แต่เสียง /a,ə/, /i,e,ɛ/ และ /u,o,ɔ/ ไม่มีความแตกต่างซึ่งกันและกัน[1]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Souag, Lameen (2010-01-01). "Ajami in West Africa". Afrikanistik online.
- Mamadou Cissé: « Graphical borrowing and African realities » in Revue du Musée National d'Ethnologie d'Osaka, Japan, June 2000.
- Mamadou Cissé: « Écrits et écritures en Afrique de l'Ouest » in Sud Langues [1] เก็บถาวร 2011-02-21 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน June 2006.
- PanAfriL10n Wolof