สงครามกลางเมืองพม่า (พ.ศ. 2564–ปัจจุบัน)

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สงครามกลางเมืองพม่า
ส่วนหนึ่งของ ความขัดแย้งภายในพม่า

สถานการณ์ทางทหาร ณ ต้นปี 2022:[ต้องการการอัปเดต]
     สภาบริหารแห่งรัฐ (กองทัพพม่าและพันธมิตร)
     การควบคุมดินแดนร่วมกันระหว่างสภาบริหารแห่งรัฐและองค์กรติดอาวุธชาติพันธุ์ในข้อตกลงหยุดยิง
     รัฐว้า (กองทัพรวมแห่งรัฐว้าและพันธมิตร)
     ต่อสู้กันอยู่
วันที่5 พฤษภาคม 2021 – ปัจจุบัน
(2 ปี 11 เดือน 2 สัปดาห์ 5 วัน)
สถานที่
พื้นที่ชนบทของพม่า[9]
สถานะ กำลังดำเนินอยู่
ดินแดน
เปลี่ยนแปลง
การควบคุมเมืองของกองทัพพม่าลดลงเหลือระหว่าง 72–220 เมืองจากทั้งหมด 330 เมือง แม้ว่าจะยังคงควบคุมเมืองสำคัญหลัก ๆ ทั้งหมดเอาไว้ก็ตาม[10][11][12]
คู่สงคราม

ประเทศพม่า รัฐบาลเอกภาพแห่งชาติพม่า

พันธมิตรองค์กรติดอาวุธชาติพันธุ์:
กลุ่มพันธมิตรพี่น้องสามองค์กร

สภาบริหารแห่งรัฐ

ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
กำลัง
65,000 (PDF, ประมาณเดือนพฤศจิกายน 2022)[15][16] และ 135,000 (LDF และ EAOs) [ต้องการอ้างอิง] บุคลากรประมาณ 150,000 คน; กองกำลังรบ 70,000 นาย (Tatmadaw, May 2023 estimate)[17]
ความสูญเสีย
  • ผู้เสียชีวิตทั้งหมด: 41,245 (จาก ACLED, 20 ตุลาคม 2023)[18]
  • พลเรือนเสียชีวิต 4,154 ราย, ถูกจับกุม 25,331 ราย (จาก AAPP, 23 ตุลาคม 2023)[19]
  • ผู้พลัดถิ่นภายในประเทศ 1,000,000 คน (จาก OCHA, 31 พฤษภาคม 2022)[20]
  • ที่อยู่อาศัยพังเสียหาย 11,400 หลัง (จาก ISP–Myanmar and Data for Myanmar, ณ วันที่ 12 พฤษภาคม 2022)[21]
  • ทรัพย์สินพลเรือน 12,000 ชิ้น คาดว่าถูกเผาหรือทำลายตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2022 (จาก OCHA, 31 พฤษภาคม 2022)[20]
  • บ้านและอาคาร 440 หลังถูกปิดผนึกโดยรัฐบาลทหาร (จาก AAPP, กุมภาพันธ์ 2022)[22]

สงครามกลางเมืองพม่า (อังกฤษ: Myanmar civil war) เป็นสงครามกลางเมืองที่ดำเนินอยู่หลังจากการก่อความไม่สงบที่ดำเนินมายาวนานของพม่า ซึ่งทวีความรุนแรงขึ้นอย่างมากจากการตอบสนองต่อการรัฐประหารปี 2021 และการปราบปรามอย่างรุนแรงต่อการประท้วงต่อต้านรัฐประหารในเวลาต่อมา[23][24]

ในช่วงหลายเดือนหลังการรัฐประหาร ฝ่ายค้านเริ่มรวมตัวกันเป็นรัฐบาลเอกภาพแห่งชาติพม่า และเปิดฉากโจมตีรัฐบาลทหาร ภายในปี 2022 ฝ่ายค้านได้ควบคุมดินแดนจำนวนมากแม้ว่าจะมีประชากรเบาบางก็ตาม[25][26][27][28][29][30] การโจมตีของรัฐบาลทหารในหลายหมู่บ้านและตามเมืองต่าง ๆ ได้ทำให้ผู้คนนับหมื่นคนไร้ที่อยู่อาศัย ในวันครบรอบ 2 ปีรัฐประหาร ในเดือนกุมภาพันธ์ 2023 มี่นอองไลง์ ประธานสภาบริหารแห่งรัฐ ยอมรับว่าสูญเสียเมืองไป “มากกว่า 1 ใน 3” ผู้สังเกตการณ์อิสระตั้งข้อสังเกตว่าจำนวนที่แท้จริงน่าจะสูงกว่ามาก โดยมีเพียง 72 เมืองจากทั้งหมด 330 เมืองที่ยังอยู่ภายใต้การควบคุมของกองทัพพม่า[10][11][12]

ณ เดือนกันยายน 2022 ผู้คนจำนวน 1.3 ล้านคนต้องกลายเป็นผู้ไร้ถิ่นที่อยู่ และมีเด็กมากกว่า 13,000 คนถูกสังหาร

หมายเหตุ[แก้]

  1. เมษายน – พฤศจิกายน 2022; ตุลาคม 2023 - ปัจจุบัน

อ้างอิง[แก้]

  1. "Interview: 'Our Strength is in the People'". Radio Free Asia (RFA). 25 May 2021. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 June 2021. สืบค้นเมื่อ 25 May 2021.
  2. "Sagaing and Magway PDFs launch guerrilla attacks on military columns". Myanmar Now. 12 October 2021. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 November 2021. สืบค้นเมื่อ 27 December 2021.
  3. "Yangon PDF Central Command announces attacks after Kyimyindine crackdown". BNI. 7 December 2021. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 December 2021. สืบค้นเมื่อ 27 December 2021.
  4. "Pyusawhti militia". Myanmar NOW. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 May 2022. สืบค้นเมื่อ 22 March 2022.
  5. "Murders in Yangon and Mandalay linked to Thwe Thout". Myanmar Now. 23 May 2022. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 May 2022. สืบค้นเมื่อ 22 June 2022.
  6. Mathieson, David Scott (10 June 2022). "Myanmar raising bloodthirsty death squads". Asia Times. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 June 2022. สืบค้นเมื่อ 22 June 2022.
  7. "Paul Lu: ZRO/ZRA Has Abducted And Killed Our CJDC Members". Burma News International (ภาษาอังกฤษ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 June 2022. สืบค้นเมื่อ 2022-06-28.
  8. "NLD 'Turncoat' Criticized After Being Named to Myanmar Military Regime's Cabinet". The Irrawaddy. 5 February 2021. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 August 2022. สืบค้นเมื่อ 10 March 2022.
  9. Tharoor, Ishaan (3 February 2023). "In the shadow of Ukraine, Myanmar's crisis gets worse". Washington Post. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 February 2023. สืบค้นเมื่อ 4 February 2023.
  10. 10.0 10.1 "Myanmar junta extends state of emergency, effectively delaying polls". Agence France-Presse. Yangon: France24. 4 February 2023. สืบค้นเมื่อ 1 February 2023.
  11. 11.0 11.1 Jones, Aidan (5 September 2022). "Myanmar junta 'losing control' as armed resistance digs in, rights experts say". South China Morning Post. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 February 2023. สืบค้นเมื่อ 4 February 2023.
  12. 12.0 12.1 Faulder, Dominic (1 February 2023). "Myanmar's iron-fisted ruler Min Aung Hlaing fights to stay on his throne". Nikkei Asia. Bangkok, Thailand. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 February 2023. สืบค้นเมื่อ 4 February 2023.
  13. ""We are Getting Stronger to Complete the Revolution": Karenni Resistance Leader". The Irrawaddy. 15 June 2022. สืบค้นเมื่อ 29 June 2023.
  14. "KNPLF Says No Fake Peace". BNI (ภาษาอังกฤษ). 6 March 2020. สืบค้นเมื่อ 29 June 2023.
  15. Aung, Banyar (24 November 2022). "An Assessment of Myanmar's Parallel Civilian Govt After Almost 2 Years of Revolution". The Irrawaddy. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 November 2022. สืบค้นเมื่อ 24 November 2022.
  16. Ye Myo Hein (3 November 2022). "Understanding the People's Defense Forces in Myanmar". www.usip.org (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 25 June 2023.
  17. "Myanmar's Military Is Smaller Than Commonly Thought — and Shrinking Fast". www.usip.org. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 May 2023. สืบค้นเมื่อ 16 May 2023.
  18. "ACLED Dashboard". ACLED. 22 April 2022. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 November 2022. สืบค้นเมื่อ 1 May 2022.
  19. "AAPP | Assistance Association for Political Prisoners". AAPP | Assistance Association for Political Prisoners. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 February 2021. สืบค้นเมื่อ 18 March 2022.
  20. 20.0 20.1 Strangio, Sebastian (3 June 2022). "Myanmar's Total Displaced Population Tops 1 Million, Says UN". The Diplomat. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 14 July 2022. สืบค้นเมื่อ 19 August 2022.
  21. "Conflict seen escalating in Myanmar on the anniversary of PDF". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 May 2022. สืบค้นเมื่อ 16 May 2022.
  22. "Daily Briefing in Relation to the Military Coup". 28 March 2022. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 March 2022. สืบค้นเมื่อ 28 March 2022.
  23. "Myanmar Violence Escalates With Rise of 'Self-defense' Groups, Report Says". voanews.com. Agence France-Presse. 27 June 2021. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 January 2022. สืบค้นเมื่อ 12 February 2022.
  24. "Myanmar anti-coup insurgents destroy police post, kill security forces -media". euronews.com. Reuters. 23 May 2021. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 January 2022. สืบค้นเมื่อ 12 February 2022.
  25. Regan, Helen; Olarn, Kocha. "Myanmar's shadow government launches 'people's defensive war' against the military junta". CNN. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 September 2022. สืบค้นเมื่อ 23 September 2022.
  26. "The deadly battles that tipped Myanmar into civil war". The BBC. The BBC. 1 February 2022. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 February 2022. สืบค้นเมื่อ 2 February 2022.
  27. Hutt, David (14 September 2022). "The World Must Respond to Myanmar's Civil War Rather Than Its Coup". The Diplomat. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 September 2022. สืบค้นเมื่อ 21 September 2022.
  28. Tharoor, Ishaan (21 July 2022). "Myanmar's junta can't win the civil war it started". The Washington Post. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 August 2022. สืบค้นเมื่อ 21 September 2022.
  29. Ebbighausen, Rodion (1 July 2022). "Who is winning Myanmar's civil war?". Deutsche Welle. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 September 2022. สืบค้นเมื่อ 21 September 2022.
  30. Davis, Anthony (30 May 2022). "Is Myanmar's military starting to lose the war?". Asia Times. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 September 2022. สืบค้นเมื่อ 21 September 2022.