วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติสหรัฐ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สหรัฐ
สมาคมยูเอสเอวอลเลย์บอล
สมาพันธ์นอร์เซกา
หัวหน้าผู้ฝึกสอนสหรัฐ คาร์ช คิราย[1]
อันดับเอฟไอวีบี2 (ณ 26 กันยายน 2023)
เครื่องแบบ
เหย้า
เยือน
โอลิมปิกฤดูร้อน
เข้าแข่งขัน12 (ครั้งแรกเมื่อ 1964)
ผลการแข่งที่ดีที่สุด ชนะเลิศ (2020)
ชิงแชมป์โลก
เข้าร่วมแข่งขัน16 (ครั้งแรกเมื่อ 1956)
ผลการแข่งที่ดีที่สุด ชนะเลิศ (2014)
เวิลด์คัพ
เข้าร่วมแข่งขัน11 (ครั้งแรกเมื่อ 1973)
ผลการแข่งที่ดีที่สุด รองชนะเลิศ (2011, 2019)
www.usavolleyball.org
เกียรติประวัติ
โอลิมปิกฤดูร้อน
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2020 โตเกียว ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 1984 แคลิฟอร์เนีย ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 2008 ปักกิ่ง ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 2012 ลอนดอน ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 1992 บาร์เซโลนา ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 2016 รีโอเดจาเนโร ทีม
ชิงแชมป์โลก
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2014 อิตาลี ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 1967 ญี่ปุ่น ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 2002 เยอรมนี ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 1982 เปรู ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 1990 จีน ทีม
เวิลด์คัพ
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 2011 ญี่ปุ่น ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 2019 ญี่ปุ่น ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 2003 ญี่ปุ่น ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 2007 ญี่ปุ่น ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 2015 ญี่ปุ่น ทีม
เวิลด์แกรนด์แชมเปียนคัพ
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 2005 ญี่ปุ่น ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 2013 ญี่ปุ่น ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 2017 ญี่ปุ่น ทีม
เนชันส์ลีก
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2018 หนานจิง ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2019 หนานจิง ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2021 รีมีนี ทีม
วอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1995 เซี่ยงไฮ้ ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2001 มาเก๊า ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2010 หนิงปัว ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2011 มาเก๊า ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2012 หนิงปัว ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2015 โอมาฮา ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 2003 อานดรีอา ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 2004 เรจจีโอกาลาเบรีย ทีม
แพน-อเมริกันเกมส์
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 1967 วินนิเพ็ก ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2015 โทรอนโต ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 1955 เม็กซิโกซิตี ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 1959 ชิคาโก ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 1963 เซาเปาลู ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 1983 การากัส ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 1995 มาร์เดลปลาตา ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 1987 อินเดียแนโพลิส ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 1999 วินนิเพ็ก ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 2003 ซานโตโดมิงโก ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 2007 รีโอเดจาเนโร ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 2011 กวาดาลาฮารา ทีม
แพน-อเมริกันคัพ
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2003 ซัลตีโย ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2012 เมฆิกาลิ ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2013 เปรู ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2015 ลิมา/กายาโอ ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 2004 ติฆัวนา/เมฆิกาลิ ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 2002 เมฆิกาลิ ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 2010 โรซาริโอ/ติฆัวนา ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 2011 ชีวาวา/เมฆิกาลิ ทีม
ไฟนอลโฟร์คัพ
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 2009 ลิมา ทีม
สมาชิกวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติสหรัฐอเมริกาใน ค.ศ. 2008

วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติสหรัฐอเมริกา (อังกฤษ: United States women's national volleyball team) เป็นตัวแทนของสหรัฐอเมริกาในการแข่งขันวอลเลย์บอลระดับนานาชาติรวมถึงนัดกระชับมิตร ทีมนี้ได้รับการบริหารโดยองค์กรยูเอสเอวอลเลย์บอล[1]

ในการแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงในโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 ทีมชาติสหรัฐอเมริกาได้รับรางวัลเหรียญเงิน ด้วยการแพ้บราซิล 3-1 เซต[2]

ใน ค.ศ. 2014 ทีมสหรัฐอเมริกาได้เข้าแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 2014 แล้วสร้างผลงานคว้าแชมป์มาครองเป็นสมัยแรก ภายใต้การควบคุมทีมของคาร์ช คิราย[3] และในการแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงในโอลิมปิกฤดูร้อน 2020 ทีมชาติสหรัฐอเมริกาได้คว้าเหรียญทองโอลิมปิกครั้งแรกในประวัติศาสตร์ ด้วยการชนะบราซิล 3-0 เซต[4]

รายชื่อนักกีฬาชุดปัจจุบัน[แก้]

หมายเลข ตำแหน่ง ชื่อ วันเกิด ส่วนสูง น้ำหนัก กระโดดตบ บล็อก สโมสรฤดูกาล 2021-22
1 SET Hancock, MichaMicha Hancock 10 พฤศจิกายน 1992 1.80 m (5 ft 11 in) 76 kg (168 lb) 305 ซm (10 ft 0 in) 297 ซm (9 ft 9 in) อิตาลี Novara
2 SET Jordyn Poulter 31 กรกฎาคม 1997 1.88 m (6 ft 2 in) 75 kg (165 lb) 313 ซm (10 ft 3 in) 295 ซm (9 ft 8 in) อิตาลี Busto Arsizio
3 OH Plummer, KathrynKathryn Plummer 16 ตุลาคม 1998 2.01 m (6 ft 7 in) 75 kg (165 lb) 314 ซm (10 ft 4 in) 300 ซm (9 ft 10 in) อิตาลี Imoco Volley Conegliano
4 LIB Justine Wong-Orantes 6 ตุลาคม 1995 1.68 m (5 ft 6 in) 66 kg (146 lb) 282 ซm (9 ft 3 in) 277 ซm (9 ft 1 in) เยอรมนี VC Wiesbaden
5 LIB Morgan Hentz 27 กรกฎาคม 1998 1.75 m (5 ft 9 in) 64 kg (141 lb) 279 ซm (9 ft 2 in) 274 ซm (9 ft 0 in) สหรัฐ Athletes Unlimited
6 MB Tori Dixon 4 สิงหาคม 1992 1.91 m (6 ft 3 in) 72 kg (159 lb) 307 ซm (10 ft 1 in) 295 ซm (9 ft 8 in) ตุรกี THY
7 SET Carlini, LaurenLauren Carlini 28 กุมภาพันธ์ 1995 1.85 m (6 ft 1 in) 76 kg (168 lb) 305 ซm (10 ft 0 in) 300 ซm (9 ft 10 in) ตุรกี THY
8 MB Hannah Tapp 21 มิถุนายน 1995 1.91 m (6 ft 3 in) 77 kg (170 lb) 297 ซm (9 ft 9 in) 290 ซm (9 ft 6 in) ญี่ปุ่น Hitachi Rivale
9 OH Madi Kingdon-Rishel 20 เมษายน 1993 1.81 m (5 ft 11 in) 73 kg (161 lb) 307 ซm (10 ft 1 in) 298 ซm (9 ft 9 in) ตุรกี THY
10 MB Brionne Butler 29 มกราคม 1999 1.93 m (6 ft 4 in) 75 kg (165 lb) 302 ซm (9 ft 11 in) 295 ซm (9 ft 8 in) อินโดนีเซีย Gresik Petrokimia
11 OPP Drews, AndreaAndrea Drews 25 ธันวาคม 1993 1.91 m (6 ft 3 in) 77 kg (170 lb) 316 ซm (10 ft 4 in) 312 ซm (10 ft 3 in) ญี่ปุ่น JT Marvelous
12 OPP Jordan Thompson 5 พฤษภาคม 1997 1.93 m (6 ft 4 in) 73 kg (161 lb) 320 ซm (10 ft 6 in) 314 ซm (10 ft 4 in) อิตาลี Monza
13 OH Sarah Wilhite Parsons 30 กรกฎาคม 1995 1.88 m (6 ft 2 in) 75 kg (165 lb) 305 ซm (10 ft 0 in) 300 ซm (9 ft 10 in) ญี่ปุ่น NEC Red Rockets
15 MB Haleigh Washington 22 กันยายน 1995 1.92 m (6 ft 4 in) 82 kg (181 lb) 320 ซm (10 ft 6 in) 310 ซm (10 ft 2 in) อิตาลี Novara
16 MB Rettke, DanaDana Rettke 21 มกราคม 1999 2.06 m (6 ft 9 in) 80 kg (180 lb) 331 ซm (10 ft 10 in) 300 ซm (9 ft 10 in) อิตาลี Monza
17 OH Dani Drews 2 กุมภาพันธ์ 1999 1.83 m (6 ft 0 in) สหรัฐ Athletes Unlimited
18 OH Bajema, KaraKara Bajema 24 มีนาคม 1998 1.88 m (6 ft 2 in) โปแลนด์ Rzeszów
22 LIB Kendall White 7 กรกฎาคม 1997 1.65 m (5 ft 5 in) ฝรั่งเศส Terville Florange
23 OH Robinson, KelseyKelsey Robinson 25 มิถุนายน 1992 1.88 m (6 ft 2 in) 75 kg (165 lb) 306 ซm (10 ft 0 in) 300 ซm (9 ft 10 in) ญี่ปุ่น Toyota Auto Body Queenseis
24 MB Chiaka Ogbogu 15 เมษายน 1995 1.89 m (6 ft 2 in) 75 kg (165 lb) 340 ซm (11 ft 2 in) 320 ซm (10 ft 6 in) ตุรกี VakifBank
30 OH Ali Frantti 15 เมษายน 1995 1.85 m (6 ft 1 in) 74 kg (163 lb) 317 ซm (10 ft 5 in) อิตาลี Chieri
31 MB Anna Stevenson 15 เมษายน 1995 1.87 m (6 ft 2 in) 75 kg (165 lb) ตุรกี Aydın Büyükşehir Belediyespor
32 OPP Danielle Cuttino 22 มิถุนายน 1996 1.94 m (6 ft 4 in) 79 kg (174 lb) 325 ซm (10 ft 8 in) 306 ซm (10 ft 0 in) บราซิล Itambé Minas
33 OPP Nia Reed 27 มิถุนายน 1996 1.86 m (6 ft 1 in) บราซิล Sesi Vôlei Bauru

รางวัล[แก้]

โอลิมปิกเกมส์[แก้]

  • กรีซ 2004 : อันดับ 5
  • จีน 2008 : เหรียญเงิน
  • สหราชอาณาจักร 2012 : เหรียญเงิน
  • บราซิล 2016 : เหรียญทองแดง
  • ญี่ปุ่น 2020 : เหรียญทอง
  • ฝรั่งเศส 2024 :
  • สหรัฐ 2028 :

วอลเลย์บอลชิงแชมป์โลก[แก้]

  • ญี่ปุ่น 1998 : อันดับ 13
  • เยอรมนี 2002 : เหรียญเงิน
  • ญี่ปุ่น 2006 : อันดับ 9
  • ญี่ปุ่น 2010 : อันดับ 4
  • อิตาลี 2014 : เหรียญทอง
  • ญี่ปุ่น 2018 : อันดับ 5
  • เนเธอร์แลนด์ โปแลนด์ 2022 :

เวิลด์คัพ[แก้]

  • ญี่ปุ่น 2003 : เหรียญทองแดง
  • ญี่ปุ่น 2007 : เหรียญทองแดง
  • ญี่ปุ่น 2011 : เหรียญเงิน
  • ญี่ปุ่น 2015 : เหรียญทองแดง
  • ญี่ปุ่น 2019 : เหรียญเงิน

วอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์[แก้]

  • ฮ่องกง 1993 : อันดับที่ 7
  • จีน 1994 : อันดับที่ 6
  • จีน 1995 : เหรียญทอง
  • จีน 1996 : อันดับที่ 5
  • ญี่ปุ่น 1997 : อันดับที่ 8
  • ฮ่องกง 1998 : อันดับที่ 8
  • จีน 1999 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ฟิลิปปินส์ 2000 : อันดับที่ 6
  • มาเก๊า 2001 : เหรียญทอง
  • ฮ่องกง 2002 : อันดับที่ 6
  • อิตาลี 2003 : เหรียญทองแดง
  • อิตาลี 2004 : เหรียญทองแดง
  • ญี่ปุ่น 2005 : อันดับที่ 8
  • อิตาลี 2006 : อันดับที่ 7
  • จีน 2007 : อันดับที่ 8
  • ญี่ปุ่น 2008 : อันดับที่ 4
  • ญี่ปุ่น 2009 : อันดับที่ 9
  • จีน 2010 : เหรียญทอง
  • มาเก๊า 2011 : เหรียญทอง
  • จีน 2012 : เหรียญทอง
  • ญี่ปุ่น 2013 : อันดับที่ 6
  • ญี่ปุ่น 2014 : อันดับที่ 6
  • สหรัฐ 2015 : เหรียญทอง
  • ไทย 2016 : เหรียญเงิน
  • จีน 2017 : อันดับที่ 5

เนชันส์ลีก[แก้]

  • จีน 2018 : เหรียญทอง
  • จีน 2019 : เหรียญทอง
  • อิตาลี 2021 : เหรียญทอง

แพน-อเมริกันเกมส์[แก้]

  • เม็กซิโก 1955 : เหรียญเงิน
  • สหรัฐ 1959 : เหรียญเงิน
  • บราซิล 1963 : เหรียญเงิน
  • แคนาดา 1967 : เหรียญทอง
  • โคลอมเบีย 1971 : เหรียญเงิน
  • เม็กซิโก 1975 : อันดับที่ 6
  • ปวยร์โตรีโก 1979 : อันดับที่ 4
  • เวเนซุเอลา 1983 : เหรียญเงิน
  • สหรัฐ 1987 : เหรียญทองแดง
  • คิวบา 1991 : อันดับที่ 5
  • อาร์เจนตินา 1995 : เหรียญเงิน
  • แคนาดา 1999 : เหรียญทองแดง
  • สาธารณรัฐโดมินิกัน 2003 : เหรียญทองแดง
  • บราซิล 2007 : เหรียญทองแดง
  • เม็กซิโก 2011 : เหรียญทองแดง

แพน-อเมริกันคัพ[แก้]

  • เม็กซิโก 2002 : อันดับที่ 6
  • เม็กซิโก 2003 : เหรียญทอง
  • เม็กซิโก 2004 : เหรียญเงิน
  • สาธารณรัฐโดมินิกัน 2005 : อันดับที่ 4
  • ปวยร์โตรีโก 2006 : อันดับที่ 4
  • เม็กซิโก 2007 : อันดับที่ 4
  • เม็กซิโก 2008 : อันดับที่ 5
  • สหรัฐ 2009 : อันดับที่ 4
  • เม็กซิโก 2010 : เหรียญทองแดง
  • เม็กซิโก 2011 : เหรียญทองแดง
  • เม็กซิโก 2012 : เหรียญทอง
  • เปรู 2013 : เหรียญทอง

ไฟนอล โฟร์ คัพ[แก้]

  • บราซิล 2008 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • เปรู 2009 : เหรียญเงิน

มอนเทร็กซ์ วอลเลย์ มาสเตอร์[แก้]

  • สวิตเซอร์แลนด์ 1991 : เหรียญเงิน
  • สวิตเซอร์แลนด์ 1992 : อันดับที่ 4
  • สวิตเซอร์แลนด์ 1993 : อันดับที่ 6
  • สวิตเซอร์แลนด์ 1994 : อันดับที่ 4
  • สวิตเซอร์แลนด์ 1995 : เหรียญทองแดง
  • สวิตเซอร์แลนด์ 1996 : เหรียญทองแดง
  • สวิตเซอร์แลนด์ 1998 : อันดับที่ 6
  • สวิตเซอร์แลนด์ 1999 : อันดับที่ 7
  • สวิตเซอร์แลนด์ 2000 : อันดับที่ 7
  • สวิตเซอร์แลนด์ 2001 : อันดับที่ 5
  • สวิตเซอร์แลนด์ 2002 : อันดับที่ 7
  • สวิตเซอร์แลนด์ 2003 : อันดับที่ 4
  • สวิตเซอร์แลนด์ 2004 : เหรียญเงิน
  • สวิตเซอร์แลนด์ 2005 : อันดับที่ 7
  • สวิตเซอร์แลนด์ 2010 : เหรียญเงิน
  • สวิตเซอร์แลนด์ 2011 : อันดับที่ 4
  • สวิตเซอร์แลนด์ 2014 : เหรียญเงิน

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์นอร์เซกา[แก้]

  • เม็กซิโก 1969 : อันดับที่ 6
  • คิวบา 1971 : เหรียญทองแดง
  • เม็กซิโก 1973 : เหรียญทองแดง
  • สหรัฐ 1975 : เหรียญเงิน
  • สาธารณรัฐโดมินิกัน 1977 : เหรียญทองแดง
  • คิวบา 1979 : เหรียญเงิน
  • เม็กซิโก 1981 : เหรียญทอง
  • สหรัฐ 1983 : เหรียญทอง
  • สาธารณรัฐโดมินิกัน 1985 : เหรียญเงิน
  • คิวบา 1987 : เหรียญเงิน
  • ปวยร์โตรีโก 1989 : เหรียญทองแดง
  • แคนาดา 1991 : เหรียญเงิน
  • สหรัฐ 1993 : เหรียญเงิน
  • สาธารณรัฐโดมินิกัน 1995 : เหรียญเงิน
  • ปวยร์โตรีโก 1997 : เหรียญเงิน
  • เม็กซิโก 1999 : เหรียญเงิน
  • สาธารณรัฐโดมินิกัน 2001 : เหรียญทอง
  • สาธารณรัฐโดมินิกัน 2003 : เหรียญทอง
  • ตรินิแดดและโตเบโก 2005 : เหรียญทอง
  • แคนาดา 2007 : เหรียญเงิน
  • ปวยร์โตรีโก 2009 : อันดับที่ 4
  • ปวยร์โตรีโก 2011 : เหรียญทอง
  • สหรัฐ 2013 : เหรียญทอง

หัวหน้าผู้ฝึกสอนในอดีต[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 วอลเลย์บอลไทย: คาร์ช คิราลี่ย์ ความหวังใหม่ของตบสาวมะกัน
  2. หอกข้างแคร่ บราซิลพลิกกลับมาซิวทองเหนือมะกัน 3-0 เซ็ต : SMMOnline[ลิงก์เสีย]
  3. Sport - Manager Online - ตบสาวไทยชนทีมไวลด์การ์ดประเดิมเวิลด์ แกรนด์ฯ[ลิงก์เสีย]
  4. วอลเลย์บอลสาวสหรัฐทำได้หักด่าน ‘บราซิล’ คว้าแชมป์แรกในโอลิมปิก
  5. "U.S. Women's National Team". Team USA. สืบค้นเมื่อ 15 Apr 2020.

ดูเพิ่ม[แก้]