วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติสาธารณรัฐโดมินิกัน
![]() | |||
สมาคม | สหพันธ์วอลเลย์บอลโดมินิกัน | ||
---|---|---|---|
สมาพันธ์ | นอร์เซกา | ||
หัวหน้าผู้ฝึกสอน | ![]() | ||
อันดับเอฟไอวีบี | 9 (ณ 1 มกราคม 2023) | ||
เครื่องแบบ | |||
| |||
โอลิมปิกฤดูร้อน | |||
เข้าแข่งขัน | 2 สมัย (ครั้งแรกใน 2004) | ||
ผลการแข่งที่ดีที่สุด | อันดับ 5 (2012) | ||
ชิงแชมป์โลก | |||
เข้าร่วมแข่งขัน | 6 สมัย (ครั้งแรกใน 1998) | ||
ผลการแข่งที่ดีที่สุด | อันดับ 9 (2018) | ||
เวิลด์คัพ | |||
เข้าร่วมแข่งขัน | 3 สมัย (ครั้งแรกใน 2003) | ||
ผลการแข่งที่ดีที่สุด | อันดับ 8 (2011) | ||
www.fedovoli.org (สเปน) |
เหรียญรางวัล | ||
---|---|---|
วอลเลย์บอลเวิลด์แกรนด์แชมป์เปี้ยนคัพ | ||
![]() |
โตเกียว/ฟุกุโอะกะ 2009 | ทีม |
แพน-อเมริกันเกมส์ | ||
![]() |
ซันโตโดมิงโก 2003 | ทีม |
อเมริกากลางและแคริบเบียนเกมส์ | ||
![]() |
ปานามา 1946 | ทีม |
![]() |
คิงสตัน 1962 | ทีม |
![]() |
ซัน เซลวาดอร์ 2002 | ทีม |
![]() |
คาทาเจนา 2006 | ทีม |
![]() |
มายาเกวส 2010 | ทีม |
![]() |
มาราไคโบ 1998 | ทีม |
![]() |
ซานจวน 1966 | ทีม |
![]() |
ซันโตโดมิงโก 1974 | ทีม |
![]() |
มาเดลลินส์ 1978 | ทีม |
![]() |
ฮาวานา 1982 | ทีม |
ไฟนอล โฟร์ คัพ | ||
![]() |
โรซาลิโต 2010 | ทีม |
![]() |
ฟาตาเลซา 2008 | ทีม |
![]() |
ลิมา 2009 | ทีม |
แพน-อเมริกันคัพ | ||
![]() |
ทิจัวนา 2008 | ทีม |
![]() |
โรซาริโต 2010 | ทีม |
![]() |
เม็กซิกาลิ 2002 | ทีม |
![]() |
ซัลติโล 2003 | ทีม |
![]() |
ซันโตโดมิงโก 2005 | ทีม |
![]() |
ไมอามี 2009 | ทีม |
![]() |
ซิอัวฮัว 2011 | ทีม |
![]() |
ลิมา 2013 | ทีม |
![]() |
ทิจัวนา 2004 | ทีม |
![]() |
ซานจวน 2006 | ทีม |
![]() |
โคลิมา 2007 | ทีม |
วอลเลย์บอลชิงแชมป์นอร์เซกา | ||
![]() |
บายามอน 2009 | ทีม |
![]() |
คากัส 2011 | ทีม |
![]() |
โอมาฮา 2013 | ทีม |
![]() |
คากัส 1997 | ทีม |
![]() |
ซันโตโดมิงโก 2001 | ทีม |
![]() |
ซันโตโดมิงโก 2003 | ทีม |
![]() |
พอร์ต ออฟ สเปน 2005 | ทีม |
![]() |
วินนี่ปริงส์ 2007 | ทีม |
วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติสาธารณรัฐโดมินิกัน (สเปน: Selección femenina de voleibol de la República Dominicana) เป็นตัวแทนของสาธารณรัฐโดมินิกันในการแข่งขันวอลเลย์บอล ทีมนี้ได้รับชัยชนะครั้งใหญ่สุดใน ค.ศ. 2003 เมื่อสมาชิกทีมได้เป็นฝ่ายชนะอย่างเหนือความคาดหมายในการแข่งขันแพนอเมริกันเกมส์ 2003 ที่ประเทศของพวกเธอเป็นเจ้าภาพเอง[2]
และใน ค.ศ. 2013 ทีมชาติสาธารณรัฐโดมินิกันได้เข้าแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงเวิลด์แกรนด์แชมป์เปี้ยนคัพ 2013 โดยได้รับสิทธิ์ไวลด์การ์ด[3]
รายชื่อผู้เล่นชุดปัจจุบัน[แก้]
- หัวหน้าผู้ฝึกสอน:มาร์กอส คเวียค
บราซิล
- อ้างอิงรายชื่อนักกีฬาชุดปัจจุบันจาก : การแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงโอลิมปิกฤดูร้อน2020
ญี่ปุ่น
เบอร์ | ชื่อ | วันเกิด | ส่วนสูง | น้ำหนัก | จุดตบ | จุดบล็อก | ตำแหน่ง |
---|---|---|---|---|---|---|---|
1. | แอนเนอรัส วิคตอเรีย
วากัส วาลเดส |
07 สิงหาคม 1981 | 196 | 70 | 327 | 320 | บอลเร็ว |
3. | ลิสเว่ล เอลิซ่า อีฟ เมเจีย | 10 กันยายน 1991 | 194 | 70 | 325 | 315 | บอลเร็ว |
5. | เบรนด้า คาสเทลโล่(L) | 05 มิถุนายน 1992 | 167 | 55 | 245 | 230 | ตัวรับอิสระ |
6. | คามิล อินมาคลูลาด้า
โดมินเกวซ มาร์ติเนซ |
07 ธันวาคม 1991 | 176 | 75 | 232 | 275 | ตัวเซต |
7. | นิเวอร์ก้า มาร์เตฟริก้า | 19 ตุลาคม 1990 | 178 | 71 | 295 | 283 | ตัวเซต |
14. | พริซิลล่า ริเวร่า
เบรนส์(C) |
29 ธันวาคม 1984 | 183 | 67 | 309 | 305 | ตัวตบหัวเสา |
16. | โยนไครา เปาลา เปน่า อิสเบล | 10 พฤษภาคม 1993 | 190 | 70 | 320 | 310 | ตัวตบหัวเสา |
18. | เบทาเนีย เดอลาครูซ เด เปนา | 13 พฤษภาคม 1987 | 188 | 70 | 330 | 320 | ตัวตบหัวเสา |
20. | บราเยลิน มาร์ติเนซ | 11 กันยายน 1996 | 201 | 83 | 330 | 320 | ตัวตบหัวเสา/บีหลัง |
21. | จิเนย์รี่ มาร์ติเนซ | 03 ธันวาคม 1997 | 190 | 68 | 305 | 280 | บอลเร็ว |
23. | ไกลา กอนซาเลส | 25 มิถุนายน 1997 | 188 | 73 | 304 | 276 | บีหลัง |
25. | ลาริสเมอร์ มาร์ติเนซ คาโร | 18 ตุลาคม 1996 | 174 | 68 | 288 | 258 | ตัวรับอิสระ |
รางวัล[แก้]
โอลิมปิกฤดูร้อน[แก้]
2004 – อันดับที่ 11
2008 – ไม่ผ่านการคัดเลือก
2012 – อันดับที่ 5
2016 – ไม่ผ่านการคัดเลือก
2020 - อันดับที่ 8
วอลเลย์บอลชิงแชมป์โลก[แก้]
1998 : อันดับที่ 12
2002 : อันดับที่ 13
2006 : อันดับที่ 17
2010 : อันดับที่ 17
2014 : อันดับที่ 10
2018 : อันดับที่ 9
เวิลด์คัพ[แก้]
วอลเลย์บอลเวิลด์แกรนด์แชมป์เปี้ยนคัพ[แก้]
วอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์[แก้]
2004 : อันดับที่ 12
2005 : อันดับที่ 11
2006 : อันดับที่ 8
2007 : อันดับที่ 11
2008 : อันดับที่ 9
2009 : อันดับที่ 11
2010 : อันดับที่ 8
2011 : อันดับที่ 12
2012 : อันดับที่ 12
2013 : อันดับที่ 10
2014 : อันดับที่ 13
2015 : อันดับที่ 12
2016 : อันดับที่ 13
2017 : อันดับที่ 8
แพน-อเมริกันเกมส์[แก้]
1955 : อันดับที่ 4
1979 : อันดับที่ 7
1999 : อันดับที่ 4
2003 :
เหรียญทอง
2007 : อันดับที่ 5
2011 : อันดับที่ 4
2015 :
เหรียญทองแดง
แพน-อเมริกันคัพ[แก้]
2002 :
เหรียญเงิน
2003 :
เหรียญเงิน
2004 :
เหรียญทองแดง
2005 :
เหรียญเงิน
2006 :
เหรียญทองแดง
2007 :
เหรียญทองแดง
2008 :
เหรียญทอง
2009 :
เหรียญเงิน
2010 :
เหรียญทอง
2011 :
เหรียญเงิน
2012 : อันดับที่ 4
2013 :
เหรียญเงิน
ไฟนอล โฟร์ คัพ[แก้]
วอลเลย์บอลชิงแชมป์นอร์เซกา[แก้]
1989 : อันดับที่ 5
1991 : อันดับที่ 5
1993 : อันดับที่ 6
1995 : อันดับที่ 4
1997 :
เหรียญทองแดง
1999 : อันดับที่ 4
2001 :
เหรียญทองแดง
2003 :
เหรียญทองแดง
2005 :
เหรียญทองแดง
2007 :
เหรียญทองแดง
2009 :
เหรียญทอง
2011 :
เหรียญเงิน
2013 :
เหรียญเงิน
อ้างอิง[แก้]
- ↑ วอลเลย์บอลไทย: เจาะข่าวลูกยางโลก
- ↑ FIVB. "Dominican Republic wins Pan Am gold in five-set thriller". สืบค้นเมื่อ 2010-01-25.
- ↑ "Dominicana se lleva el Wild Card (Dominicana takes the Wild Card)" (ภาษาสเปน). Voleibol.pe. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-06-10. สืบค้นเมื่อ 2013-10-08.
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]
- VOLEIDOMINICANO เก็บถาวร 2018-08-23 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- FEDOVOLI
- NORCECA
- SENAFE เก็บถาวร 2013-12-21 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน