ข้ามไปเนื้อหา

วอยวอดีนา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดปกครองตนเองวอยวอดีนา

      
  • Autonomna Pokrajina Vojvodina (sh-lat)
    Аутономна Покрајина Војводина (sh-cyr)
    Vajdaság Autonóm Tartomány (hu)
    Samosprávna oblasť Vojvodina (sk)
    Provincia Autonomă Voivodina (ro)
    Автономна Покраїна Войводина (rue)
ธงชาติVojvodina
ธงชาติ
ตราแผ่นดินของVojvodina
ตราแผ่นดิน
Location of Vojvodina (red) in Serbia (white)
Location of Vojvodina (red) in Serbia (white)
เมืองหลวงNovi Sad
เมืองใหญ่สุดcapital
ภาษาราชการSerbian[a]
Hungarian
Slovak
Romanian
Croatian[a]
Rusyn[1]
Country เซอร์เบีย
การปกครองAutonomous province
Bojan Pajtić (DS)
ก่อตั้ง
• Formation of Serbian Vojvodina
1848
• Establishment
1944
พื้นที่
• รวม
21,506 ตารางกิโลเมตร (8,304 ตารางไมล์)
ประชากร
• สำมะโนประชากร 2011
1,931,809
90 ต่อตารางกิโลเมตร (233.1 ต่อตารางไมล์)
สกุลเงินSerbian dinar (RSD)
เขตเวลาUTC+1 (CET)
• ฤดูร้อน (เวลาออมแสง)
UTC+2 (CEST)
ขับรถด้านright
  1. ^ Serbian and Croatian are considered by the local authorities to constitute separate languages, but are standardized varieties of the Serbo-Croatian language.[2][3][4]
วอยวอดีนา (สีแดง) ทางตอนเหนือของสาธารณรัฐเซอร์เบีย

วอยวอดีนา หรือ จังหวัดปกครองตนเองวอยวอดีนา (เซอร์เบีย: Аутономна Покрајина Војводина, Autonomna Pokrajina Vojvodina, ฮังการี: Vajdaság Autonóm Tartomány; สโลวัก: Autonómna Pokrajina Vojvodina; โรมาเนีย: Provincia Autonomă Voievodina; โครเอเชีย: Autonomna Pokrajina Vojvodina; รูซิน: Автономна Покраїна Войводина; อังกฤษ: Autonomous Province of Vojvodina) เป็นหนึ่งในสองจังหวัดปกครองตนเองของสาธารณรัฐเซอร์เบีย[5] ที่มีประชากรร้อยละ 27 ของจำนวนประชากรทั้งหมด (ค.ศ. 2002) วอยวอดีนาตั้งอยู่ทางตอนเหนือของเซอร์เบียในที่ราบแพนโนเนียของยุโรปกลาง โดยมีเมืองหลวงอยู่ที่นอวีซาด (Novi Sad) ที่มีประชากร 300,000 คน เมืองที่ใหญ่เป็นที่สองคือซูบอตีตซา (Subotica) วอยวอดีนามีภาษาราชการ 6 ภาษาและประกอบด้วยกลุ่มชาติพันธุ์กว่า 26 กลุ่ม กลุ่มที่มีประชากรมากที่สุดได้แก่ชาวเซิร์บและชาวฮังการี

อ้างอิง

[แก้]
  1. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-12-20. สืบค้นเมื่อ 2015-01-18.
  2. David Dalby, Linguasphere (1999/2000, Linguasphere Observatory), pg. 445, 53-AAA-g, "Srpski+Hrvatski, Serbo-Croatian".
  3. Benjamin W. Fortson IV, Indo-European Language and Culture: An Introduction, 2nd ed. (2010, Blackwell), pg. 431, "Because of their mutual intelligibility, Serbian, Croatian, and Bosnian are usually thought of as constituting one language called Serbo-Croatian."
  4. Václav Blažek, "On the Internal Classification of Indo-European Languages: Survey" retrieved 20 Oct 2010, pp. 15-16.
  5. ข้อมูลเกี่ยวกับสาธารณรัฐเซอร์เบียของกระทรวงต่างประเทศ [1] เก็บถาวร 2008-12-02 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน

ดูเพิ่ม

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]

วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ วอยวอดีนา