สงครามบอสเนีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สงครามบอสเนีย
ส่วนหนึ่งของ สงครามยูโกสลาเวีย

ตามเข็มนาฬิกาจากซ้ายไปขวา:
1. ไฟไหม้อาคารสภาบริหารในกรุงซาราเยโวหลังถูกยิงด้วยรถถัง
2. รัตโก มลาดิชและเจ้าหน้าที่กองทัพเซิร์ปสกาเมื่อเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1992
3. เจ้าหน้าที่รักษาสันติภาพของสหประชาชาติชาวนอร์เวย์ในกรุงซาราเยโว
วันที่6 เมษายน ค.ศ. 1992 – 14 ธันวาคม ค.ศ. 1995
(3 ปี 8 เดือน 1 สัปดาห์ 6 วัน)
สถานที่
ผล

ไม่มีฝ่ายใดชนะ

คู่สงคราม
จนถึงตุลาคม 1992:
บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา
 เฮิร์ตเซก-บอสเนีย
 โครเอเชีย
จนถึงตุลาคม 1992:
เรปูบลิกาเซิร์ปสกา
สาธารณรัฐเซิร์บกรายินา

ตุลาคม 1992–94:

บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา

ตุลาคม 1992–94:

 เฮิร์ตเซก-บอสเนีย
 โครเอเชีย

ตุลาคม 1992–94:

เรปูบลิกาเซิร์ปสกา
สาธารณรัฐเซิร์บกรายินา
บอสเนียตะวันตก (ตั้งแต่ 1993)
สนับสนุน:
 FR Yugoslavia

1994–95:

บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาb
 เฮิร์ตเซก-บอสเนีย
 โครเอเชีย
 เนโท (ปฏิบัติการทิ้งระเบิด, 1995)

1994–95:

เรปูบลิกาเซิร์ปสกา
สาธารณรัฐเซิร์บกรายินา
บอสเนียตะวันตก
สนับสนุน:
 FR Yugoslavia
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ

บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา อาลียา อีเซตเบกอวิช
(ประธานาธิบดีบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา) บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา Haris Silajdžić
(Prime Minister of Bosnia and Herzegovina)
บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา Sefer Halilović
(ARBiH Chief of Staff 1992–1993) บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา Rasim Delić
(ARBiH Commander of the General Staff 1993–1995)
บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา Enver Hadžihasanović
(ARBiH Chief of Staff 1992–1993)


เนโท เลห์ตัน ดับเบิลยู. สมิธ
(ผู้บัญชาการแอฟเซาท์)

and others

โครเอเชีย ฟรันโย ทุตมัน
(President of Croatia)
โครเอเชีย Gojko Šušak
(Minister of Defence of Croatia)
โครเอเชีย Janko Bobetko
(HV Chief of Staff)


สาธารณรัฐโครเอเชียแห่งเฮิร์ตเซก-บอสเนีย Mate Boban
(President of Herzeg-Bosnia)
สาธารณรัฐโครเอเชียแห่งเฮิร์ตเซก-บอสเนีย Milivoj Petković
(HVO Chief of Staff)

สาธารณรัฐโครเอเชียแห่งเฮิร์ตเซก-บอสเนีย สลอบอดัน พราลยัค
(HVO Chief of Staff)
and others

สหพันธ์สาธารณรัฐยูโกสลาเวีย สลอบอดัน มีลอเชวิช
(ประธานาธิบดีเซอร์เบีย)
สหพันธ์สาธารณรัฐยูโกสลาเวีย Momčilo Perišić
(VJ Chief of Staff)


เรปูบลิกาเซิร์ปสกา ราดอวาน คาราจิช
(ประธานาธิบดีแห่งเรปูบลิกาเซิร์ปสกา)
เรปูบลิกาเซิร์ปสกา รัตโก มลาดิช
(VRS Chief of Staff)


Fikret Abdić (President of AP Western Bosnia)

and others
กำลัง
ARBiH:
กำลัง 110,000 นาย
กำลังสำรอง 100,000 นาย
รถถัง 40 คัน
รถลำเลียงพลหุ้มเกราะ 30 คัน[1]
HVO:
กำลัง 45,000–50,000 นาย[2]
รถถัง 75 คัน
รถลำเลียงพลหุ้มเกราะ 50 คัน
ปืนใหญ่ 200 กระบอก[3]
HV:
กำลัง 15,000 นาย[4]
VRS:
กำลัง 80,000 นาย
รถถัง 300 คัน
รถลำเลียงพลหุ้มเกราะ 700 คัน
ปืนใหญ่ 800 กระบอก[5]
AP Western Bosnia:
กำลัง 4,000–5,000 นาย[6]
ความสูญเสีย
ทหาร 30,521 นายเสียชีวิต
พลเรือน 31,583 คนเสียชีวิต[7][8]
ทหาร 6,000 นายเสียชีวิต
พลเรือน 2,484 คนเสียชีวิต[7][8]
ทหาร 21,173 นายเสียชีวิต
พลเรือน 4,179 คนเสียชีวิต[7][8]
additional 5,100 killed whose ethnicity and status are unstated[9]

a ^ From 1992 to 1994, the Republic of Bosnia and Herzegovina was not supported by the majority of Bosnian Croats and Serbs. Consequently, it represented mainly the Bosnian Muslims.


b ^ Between 1994 and 1995, the Republic of Bosnia and Herzegovina was supported and represented by both Bosnian Muslims and Bosnian Croats. This was primarily because of the Washington Agreement.

สงครามบอสเนีย เป็นสงครามความขัดแย้งชาติพันธุ์ระหว่างชาวโครแอตที่เป็นคาทอลิก ชาวเซิร์บที่นับถือนิกายออร์ทอดอกซ์ และชาวบอสนีแอกซึ่งเป็นชาวมุสลิม สงครามปะทุในวันที่ 6 เมษายน ค.ศ. 1992 เมื่อกองกำลังเซิร์บเริ่มโจมตีกรุงซาราเยโว หลังชาวเซิร์บก่อจลาจลเพื่อแยกตัวเป็นอิสระ ในขณะเดียวกันชาวโครแอตก็แยกดินแดนเป็นอิสระเช่นเดียวกัน ในช่วงสัปดาห์เดียวบอสเนียเกือบทั้งประเทศกลายเป็นทะเลเพลิง

สงครามขยายวงกว้างและถูกระบุว่าเป็นสงครามการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ โดยกองทัพชาวเซิร์บได้สังหารหมู่ชาวบอสนีแอก ในขณะเดียวกันชาวโครแอตก็ได้สังหารหมู่ชาวบอสนีแอกเช่นกัน การสังหารหมู่ครั้งใหญ่สุดคือที่สเรเบรนีตซาโดยกองกำลังชาวเซิร์บของรัตโก มลาดิช สหประชาชาติจึงร้องให้นาโตส่งทหาร ในที่สุดนาโตก็โจมตีกองกำลังชาวเซิร์บจนต้องยอมแพ้ ส่วนกองกำลังชาวโครแอตก็ได้ยอมจำนนจากการบีบบังคับจากรัฐบาลกลางโครเอเชีย สงครามบอสเนียจบลงเมื่อวันที่ 14 ธันวาคม ค.ศ. 1995 หลังมีการลงนามในความตกลงเดย์ตัน ซึ่งกำหนดให้ประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาแบ่งเขตการปกครองออกเป็นสองเขต คือ สหพันธรัฐบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาซึ่งเป็นของชาวมุสลิมและโครแอต และเรปูบลิกาเซิร์บสกาซึ่งเป็นของชาวเซิร์บ

อ้างอิง[แก้]

  1. Ramet 2010, p. 130.
  2. Christia 2012, p. 154.
  3. Ramet 2006, p. 450.
  4. Mulaj 2008, p. 53.
  5. Finlan 2004, p. 21
  6. Ramet 2006, p. 451.
  7. 7.0 7.1 7.2 Calic, Marie–Janine (2012). "Ethnic Cleansing and War Crimes, 1991–1995". ใน Ingrao, Charles W.; Emmert, Thomas A. (บ.ก.). Confronting the Yugoslav Controversies: A Scholars' Initiative. West Lafayette, IN: Purdue University Press. pp. 139–140. ISBN 978-1-55753-617-4. Footnotes in source identify numbers as June 2012.
  8. 8.0 8.1 8.2 "Spolna i nacionalna struktura žrtava i ljudski gubitci vojnih formacija (1991–1996)". Prometej.
  9. "After years of toil, book names Bosnian war dead". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-07-21. สืบค้นเมื่อ 2020-01-14.

อ่านเพิ่ม[แก้]

หนังสือ[แก้]

วารสาร[แก้]

แหล่งที่มาอื่น[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]