ลิเทียมโบรไมด์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ลิเทียมโบรไมด์
ชื่อ
IUPAC name
Lithium bromide
เลขทะเบียน
3D model (JSmol)
เคมสไปเดอร์
ECHA InfoCard 100.028.582 แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ
EC Number
  • 231-439-8
RTECS number
  • OJ5755000
UNII
  • InChI=1S/BrH.Li/h1H;/q;+1/p-1 checkY
    Key: AMXOYNBUYSYVKV-UHFFFAOYSA-M checkY
  • InChI=1/BrH.Li/h1H;/q;+1/p-1
    Key: AMXOYNBUYSYVKV-REWHXWOFAS
  • [Li+].[Br-]
คุณสมบัติ
LiBr
มวลโมเลกุล 86.845(3) g/mol
ลักษณะทางกายภาพ ของแข็งสีขาว
ความหนาแน่น 3.464 g/cm3
จุดหลอมเหลว 552 องศาเซลเซียส (1,026 องศาฟาเรนไฮต์; 825 เคลวิน)
จุดเดือด 1,265 องศาเซลเซียส (2,309 องศาฟาเรนไฮต์; 1,538 เคลวิน)
143 g/100 mL (0 °C)
166.7 g/100 mL (20 °C)
266 g/100 mL (100 °C)
ความสามารถละลายได้ ละลายได้ในเมทานอล, เอทานอล, อีเทอร์และแอซีโทน
ละลายได้เล็กน้อยในไพริดีน
1.784
อุณหเคมี
51.88 J/mol K
Std molar
entropy
(S298)
66.9 J/mol K
-350.3 kJ/mol
-338.9 kJ/mol
-157 kJ/mol
ความอันตราย
NFPA 704 (fire diamond)
NFPA 704 four-colored diamondHealth 2: Intense or continued but not chronic exposure could cause temporary incapacitation or possible residual injury. E.g. chloroformFlammability 0: Will not burn. E.g. waterInstability 0: Normally stable, even under fire exposure conditions, and is not reactive with water. E.g. liquid nitrogenSpecial hazards (white): no code
2
0
0
จุดวาบไฟ ไม่ติดไฟ
ปริมาณหรือความเข้มข้น (LD, LC):
1800 mg/kg (rat, ทางปาก)[1]
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน
แอนไอออนอื่น ๆ
ลิเทียมฟลูออไรด์
ลิเทียมคลอไรด์
ลิเทียมไอโอไดด์
แคทไอออนอื่น ๆ
โซเดียมโบรไมด์
โพแทสเซียมโบรไมด์
รูบิเดียมโบรไมด์
ซีเซียมโบรไมด์
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa

ลิเทียมโบรไมด์ (Lithium bromide) เป็นสารประกอบที่มีสูตรเคมี LiBr เตรียมได้จากการทำปฏิกิริยาระหว่างลิเทียมคาร์บอเนตกับกรดไฮโดรโบรมิก ได้ลิเทียมโบรไมด์, ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และน้ำ ตามสมการ:[2]

Li2CO3 + HBr → LiBr + CO2 + H2O

ลิเทียมไฮดรอกไซด์ทำปฏิกิริยากับกรดไฮโดรโบรมิก จะได้ลิเทียมโบรไมด์และน้ำเช่นกัน ตามสมการ:[3]

LiOH + HBr → LiBr + H2O

ลิเทียมโบรไมด์มีคุณสมบัติเป็นสารไฮโกรสโคปิก (ดึงดูดและกักเก็บความชื้นได้)[4] จึงมักใช้เป็นสารดูดความชื้นในระบบปรับอากาศและระบบทำความเย็น[5] ในทางการแพทย์เคยใช้เป็นยากล่อมประสาทมาตั้งแต่ต้นคริสต์ทศวรรษ 1900 แต่เสื่อมความนิยมในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1940 เนื่องจากมีผู้ป่วยโรคหัวใจเสียชีวิตหลังใช้สารนี้แทนเกลือ[6] ลิเทียมโบรไมด์เคยใช้เป็นยารักษาโรคอารมณ์สองขั้วเช่นเดียวกับลิเทียมคาร์บอเนตและลิเทียมคลอไรด์

ลิเทียมโบรไมด์ก่อให้เกิดอาการระคายเคืองต่อผิวหนัง ดวงตา ระบบทางเดินหายใจและระบบประสาท จึงควรใช้อย่างระมัดระวัง[7][8]

อ้างอิง[แก้]

  1. http://chem.sis.nlm.nih.gov/chemidplus/rn/7550-35-8
  2. Chemical equation balancer
  3. Chemical equation balancer
  4. "What Does Hygroscopic Mean? - Chemistry Definition". ThoughtCo. สืบค้นเมื่อ June 14, 2017.
  5. Ulrich Wietelmann, Richard J. Bauer "Lithium and Lithium Compounds" in Ullmann's Encyclopedia of Industrial Chemistry 2005, Wiley-VCH: Weinheim.
  6. Bipolar disorder
  7. "Lithium bromide - MSDS" (PDF). Chemoventory. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-11-01. สืบค้นเมื่อ June 14, 2017.
  8. "Lithium bromide - MSDS" (PDF). Claisse. สืบค้นเมื่อ June 14, 2017.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]