กรดไฮโดรโบรมิก
| |||
| |||
ชื่อ | |||
---|---|---|---|
IUPAC name
Bromane[1]
| |||
ชื่ออื่น
Hydronium bromide
Bromhydric acid | |||
เลขทะเบียน | |||
3D model (JSmol)
|
|||
ChEBI | |||
ChEMBL | |||
เคมสไปเดอร์ | |||
ECHA InfoCard | 100.240.772 | ||
EC Number |
| ||
620 | |||
KEGG | |||
ผับเคม CID
|
|||
RTECS number |
| ||
UNII | |||
UN number | 1048 1788 | ||
| |||
| |||
คุณสมบัติ | |||
HBr(aq) | |||
มวลโมเลกุล | 80.91 g·mol−1 | ||
ลักษณะทางกายภาพ | ของเหลวไม่มีสี (ตัวอย่างที่ไม่บริสุทธิ์อาจปรากฏเป็นสีเหลือง) | ||
กลิ่น | ฉุน | ||
ความหนาแน่น | 1.49 g/cm3 (48% w/w aq.) | ||
จุดหลอมเหลว | −11 องศาเซลเซียส (12 องศาฟาเรนไฮต์; 262 เคลวิน) (47–49% w/w aq.) | ||
จุดเดือด | 122 องศาเซลเซียส (252 องศาฟาเรนไฮต์; 395 เคลวิน) at 700 mmHg (47–49% w/w aq.) | ||
221 g/100 mL (0 °C) 204 g/100 mL (15 °C) 130 g/100 mL (100 °C) | |||
pKa | −9[2] | ||
ความหนืด | 0.84 cP (−75 °C) | ||
อุณหเคมี | |||
ความจุความร้อน (C)
|
29.1 J/(K·mol) | ||
Std molar
entropy (S⦵298) |
198.7 J/(K·mol) | ||
Std enthalpy of
formation (ΔfH⦵298) |
−36.3 kJ/mol | ||
ความอันตราย | |||
GHS labelling: | |||
อันตราย | |||
H314, H335 | |||
P260, P261, P264, P271, P280, P301+P330+P331, P303+P361+P353, P304+P340, P305+P351+P338, P310, P312, P321, P363, P403+P233, P405, P501 | |||
NFPA 704 (fire diamond) | |||
จุดวาบไฟ | ไม่ติดไฟ | ||
เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (SDS) | ICSC 0282 | ||
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน | |||
แอนไอออนอื่น ๆ
|
กรดไฮโดรฟลูออริก กรดไฮโดรคลอริก กรดไฮโดรไอโอดิก | ||
สารประกอบที่เกี่ยวข้อง
|
ไฮโดรเจนโบรไมด์ | ||
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
|
กรดไฮโดรโบรมิก (อังกฤษ: hydrobromic acid) เป็นสารละลายของแก๊สไฮโดรเจนโบรไมด์ กรดไฮโดรโบรมิกเป็นกรดที่สามารถกัดกร่อนรุนแรง มีค่า pKa ประมาณ -9 ลักษณะของกรดไฮโดรโบรมิก เป็นกรดไฮโดร (กรดที่มีองค์ประกอบ 2 อย่างคือ ไฮโดรเจนและอโลหะ ในที่นี้คือโบรมีน)
การใช้ประโยชน์
[แก้]ส่วนใหญ่ใช้ในการผลิตสารประกอบอนินทรีย์ของโบรไมด์ โดยเฉพาะกับสังกะสี แคลเซียมและโซเดียม และยังใช้ในการสังเคราะห์สารประกอบอินทรีย์ของโบรมีน อีเทอร์สามารถถูกตัดได้ด้วย HBr นอกจากนี้ HBr สามารถเร่งปฏิกิริยาแอลคิเลชัน และการสกัดแร่ สารประกอบสำคัญทางอุตสาหกรรมที่ผลิตจากกรดไฮโดรโบรมิกได้แก่ แอลลิล โบรไมด์ เตตระโบรโมบิสฟีนอล และกรดโบรโมอะซีติก[3] HBr มีความเป็นเอกลักษณ์คือสามารถเกิดปฏิกิริยาเติมกับแอลคีนแบบแอนติ-มาร์คอฟนิคอฟได้เมื่อมีเปอร์ออกไซด์อยู่ด้วย
การสังเคราะห์
[แก้]กรดไฮโดรโบรมิกเตรียมได้จากปฏิกิริยาระหว่าง Br2, SO2 และน้ำ[4]
- Br2 + SO2 + 2 H2O → H2SO4 + 2 HBr
การเตรียมอีกแบบหนึ่งใช้ ไฮโดรเจนโบรไมด์ ที่แห้งมาละลายน้ำ
ในทางอุตสาหกรรมเตรียมโดยนำโบรมีนไปทำปฏิกิริยากับกำมะถัน หรือ ฟอสฟอรัส และน้ำ และผลิตได้ด้วยเคมีไฟฟ้าด้วย[4] นอกจากนั้นยังผลิตได้จากการนำโบรไมด์ไปทำปฏิกิริยากับกรดที่ไม่ออกซิไดส์เช่น กรดฟอสฟอริกหรือกรดอะซีติก กรดชนิดนี้มีขายทางการค้าที่ความเข้มข้นและความบริสุทธิ์หลายระดับ
การสังเคราะห์อีกวิธีคือการใช้กรดซัลฟิวริก (5.8M) กับโพแทสเซียมโบรไมด์
H2SO4 + KBr → KHSO4 + HBr
แต่วิธีนี้หากใช้กรดซัลฟิวริกเข้มข้นมากไปหรืออุณหภูมิสูงเกิน 75 °C จะทำให้เกิดการออกซิไดส์ HBr เป็นแก๊สโบรมีน
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Favre, Henri A.; Powell, Warren H., บ.ก. (2014). Nomenclature of Organic Chemistry: IUPAC Recommendations and Preferred Names 2013. Cambridge: The Royal Society of Chemistry. p. 131. ISBN 9781849733069.
- ↑ Bell, R. P. The Proton in Chemistry, 2nd ed., Cornell University Press, Ithaca, NY, 1973.
- ↑ Michael J. Dagani, Henry J. Barda, Theodore J. Benya, David C. Sanders "Bromine Compounds" in Ullmann's Encyclopedia of Industrial Chemistry" Wiley-VCH, Weinheim, 2000. doi:10.1002/14356007.a04_405
- ↑ 4.0 4.1 Scott, A. (1900). "Preparation of pure hydrobromic acid". J. Chem. Soc., Trans. 77: 648–650. doi:10.1039/ct9007700648.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ กรดไฮโดรโบรมิก