รายชื่อแชมป์โลกมวยสากลรุ่นฟลายเวท

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

นี่เป็นรายชื่อของแชมป์โลกรุ่นฟลายเวทเรียงตามสถาบัน ซึ่งเป็นที่ยอมรับโดยองค์กรมวยที่เป็นที่ยอมรับสี่แห่ง:

แชมป์โลก[แก้]

เริ่มต้น สิ้นสุด แชมป์ การรับรอง
11 เมษายน 2456 2 มิถุนายน 2456 สหราชอาณาจักร ซิด สมิท ทั่วโลก
องค์กรซึ่งต่อมากลายเป็น คณะกรรมการควบคุมมวยแห่งสหราชอาณาจักร รับรองการแบ่งรุ่นฟลายเวทเมื่อพ.ศ. 2454 และประกาศให้ซิด สมิทเป็นแชมป์โลกคนแรก สมิทขึ้นชกกับยูจีน คริควิวเมื่อ 11 เมษายน 2456 ซึ่งถือว่าเป็นการชกชิงแชมป์โลกรุ่นฟลายเวทครั้งแรก[1]
2 มิถุนายน 2456 26 มกราคม 2457 สหราชอาณาจักร บิล ลัดบิวรี ทั่วโลก
26 มกราคม 2457 15 พฤษภาคม 2457 สหราชอาณาจักร เพอร์ซี โจนส์ ทั่วโลก
15 พฤษภาคม 2457 16 พฤศจิกายน 2457 สหราชอาณาจักร โจ ซีมอนด์ ทั่วโลก
16 พฤศจิกายน 2457 25 มกราคม 2458 สหราชอาณาจักร จิมมี วิลเด ทั่วโลก
25 มกราคม 2458 18 ตุลาคม 2458 สหราชอาณาจักร โจอี ซีมอนด์ ทั่วโลก
14 กุมภาพันธ์ 2459 18 มิถุนายน 2466 สหราชอาณาจักร จิมมี วิลเด ทั่วโลก
เมื่อจิมมี วิลเดชกชนะน็อค ยัง ซูลู คิด แชมป์รุ่นฟลายเวทจากสหรัฐอเมริกาในยกที่ 11 ที่ลอนดอนเมื่อ 18 ธันวาคม 2459 เขาได้รับการยกย่องว่าเป็นแชมป์โลกรุ่นหลายเวททั้งในทวีปยุโรปและอเมริกา
18 มิถุนายน 2466 14 กรกฎาคม 2468 ฟิลิปปินส์ ปานโช วิลลา ทั่วโลก
ปานโช วิลลาเสียชีวิตเมื่อ 14 กรกฎาคม 2468 หลังจากชกแพ้ จิมมี แมกลาร์นิน เมื่อ 4 กรกฎาคม ทำให้ตำแหน่งแชมป์ว่างลง การชกเมื่อ 22 สิงหาคม 2458 ระหว่างฟิเดล ลา บาร์บา กับแฟรงกี เกนาโร แชมป์ฟลายเวทสหรัฐอเมริกาเป็นการชิงแชมป์ที่ว่าง ซึ่งลา บาร์บาเป็นฝ่ายชนะในการยก 10 ยก
22 สิงหาคม 2468 25 สิงหาคม 24702 สหรัฐ ฟิเดล ลาบาร์บา ทั่วโลก
22 ตุลาคม 2470 3 ธันวาคม 24702 สหรัฐ พิงกี ซิลเวอร์เบิร์ก สมาคมมวยแห่งชาติ (NBA)
ตำแหน่งแชมป์ว่างลงอีกครั้งเมื่อฟิเดล ลาบาร์บาแขวนนวมเพื่อเข้าเรียนใน มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด เมื่อ พ.ศ. 2470 นักมวยหลายคนกล่าวอ้างว่าได้ครองตำแหน่ง ได้แก่ วิลลี ลา มอร์เต ซึ่งได้รับเลือกโดยคณะกรรมการมวยนิวเจอร์ซีย์; มิดเกต วอลกาสต์ ผู้ชกชนะ เอลาดิโอ วาลเดส เมื่อ 21 มีนาคม 2473 ซึ่งได้รับการรับรองจาก คณะกรรมการมวยนิวยอร์ก; และ พิงกี ซิลเวอร์เบิร์ก, ผู้ที่ได้ครองแชมป์ของสมาคมมวยแห่งชาติ เมื่อ พ.ศ. 2470 ก่อนจะถูกปลดในเวลาต่อมา หลังจากปลดซิลเวอร์เบิร์ก NBA ได้ยอมรับ แฟรงกี เกนาโร เมื่อเขาชกชนะ อัลเบิร์ต เบลางเกอร์ แชมป์ฟลายเวทประเทศแคนาดาเมื่อ 6 กุมภาพันธ์ 2471 ในการแข่งขันที่ได้รับการรับรองจาก NBA มีความสับสนเกิดขึ้นว่าใครเป็นแชมป์ตัวจริงถูกตัดสินเมื่อเกนาโรชกชนะวอลกาสต์ เมื่อ 16 พฤษภาคม และ ลามอร์เตเมื่อ 6 สิงหาคม อย่างไรก็ตาม ตำแหน่งแชมป์ยังคงเป็นที่โต้แย้งเมื่อแชมป์ฟลายเวทของสกอตแลนด์ เบนนี ลินช์ ชกชนะแชมป์ฟลายเวทสหราชอาณาจักร แจ๊คกี บราวน์ เมื่อ 8 กันยายน 2478 และชนะแชมป์ฟลายเวทสหรัฐอเมริกา สมอลล์ มอนทานา เมื่อ 19 มกราคม 2480 เพื่อรวมตำแหน่งแชมป์
9 มิถุนายน 2471 31 ตุลาคม 2474 สหรัฐ แฟรงกี เกนาโร NBA
26 ตุลาคม 2474 23 กุมภาพันธ์ 2475 ตูนิเซีย วิกเตอร์ เปเรซ NBA/IBU
31 ตุลาคม 2475 8 กันยายน 2478 สหราชอาณาจักร แจ๊คกี บราวน์ NBA/สหราชอาณาจักร
IBU ปลดบราวน์ออกจากตำแหน่ง และจัดให้เวเลนติน แองเกิลแมนและคิด ดาวิดขึ้นชิงแชมป์ว่างต่อมา IBU ปลดแองเกิลแมนเมื่อชกแพ้ ปีเตอร์ กาเน [2]
8 กันยายน 2478 29 มิถุนายน 24814 สหราชอาณาจักร เบนนี ลินช์ ทั่วโลก
ตำแหน่งแชมป์ว่างลงเมื่อลินช์ทำน้ำหนักในรุ่นฟลายเวทไม่ได้ ปีเตอร์ กาเนที่ชกชนะ แจ๊คกี ยูริช 22 กันยายน 2481 ได้เป็นแชมป์แทน
22 กันยายน 2481 พฤษภาคม 2482 สหราชอาณาจักร ปีเตอร์ กาเน ทั่วโลก
กาเนสละแชมป์เพื่อเลื่อนขึ้นไปชกในรุ่นแบนตัมเวท
14 ธันวาคม 2482 2485 ฟิลิปปินส์ ลิตเติล ดาโด NBA
NBA ประกาศให้ดาโดเป็นแชมป์เมื่อ 2482 หลังจากชกป้องกันแชมป์แล้ว เขาทำน้ำหนักไม่ได้ และ NBA คืนแชมป์ให้กาเนเมื่อ 2485[3]
19 มิถุนายน 2486 31 กรกฎาคม 2490 สหราชอาณาจักร แจ๊คกี แพตเตอร์สัน NBA
แพตเตอร์สันถูกปลดจากแชมป์ของ NBA และ BBBC เพราะเขาทำน้ำหนักไม่ได้ในการชกป้องกันแชมป์กับดาโด มาริโน[3]
20 ตุลาคม 2490 30 มีนาคม 2493 สหราชอาณาจักร รินตี โมนาคัน ทั่วโลก
โมนาคันได้แชมป์ NBA และ BBBC โดยชนะดาโด มารีโน เมื่อ 20 ตุลาคม 2490 เขาได้รับการยอมรับทั่วโลกเมื่อชนะแจ๊คกี้ แพตเตอร์สันเมื่อ 23 มีนาคม 2491 ตำแหน่งว่างลงหลังจากโมนาคันแขวนนวมเพราะเป็นโรคหลอดลมอักเสบเรื้อรังเมื่อ 30 มีนาคม 2493 ตำแหน่งแชมป์เป็นของเทอร์รี อัลเลนเมื่อเขาชกชนะโฮโนเร พราเทซี ที่ลอนดอน เมื่อ 25 เมษายน 2453 ในการชกกำหนด 15 ยก
25 เมษายน 2453 1 สิงหาคม 2453 สหราชอาณาจักร เทอร์รี อัลเลน ทั่วโลก
1 สิงหาคม 2453 19 พฤษภาคม 2495 สหรัฐ ดาโด มาริโน ทั่วโลก
19 พฤษภาคม 2495 26 พฤศจิกายน 2497 ญี่ปุ่น โยชิโอะ ชิราอิ ทั่วโลก
26 พฤศจิกายน 2497 16 เมษายน 2503 อาร์เจนตินา ปัสกวล เปเรซ ทั่วโลก
16 เมษายน 2503 10 ตุลาคม 2505 ไทย โผน กิ่งเพชร ทั่วโลก
10 ตุลาคม 2505 12 มกราคม 2506 ญี่ปุ่น ไฟติง ฮาราดะ ทั่วโลก
12 มกราคม 2506 18 กรกฎาคม 2506 ไทย โผน กิ่งเพชร ทั่วโลก
18 กรกฎาคม 2506 23 กันยายน 2507 ญี่ปุ่น ฮิโรยูกิ เอบิฮาระ ทั่วโลก
23 กันยายน 2507 23 เมษายน 2508 ไทย โผน กิ่งเพชร ทั่วโลก
23 เมษายน 2508 14 มิถุนายน 2509 อิตาลี ซัลวาโตเร บูร์รูนี ทั่วโลก
14 มิถุนายน 2509 30 ธันวาคม 2509 สหราชอาณาจักร วอลเตอร์ แม็คโกแวน สืบทอดมา
30 ธันวาคม 2509 23 กุมภาพันธ์ 2512 ไทย ชาติชาย เชี่ยวน้อย สืบทอดมา

WBC[แก้]

เริ่มต้นตำแหน่ง
18 กันยายน 2506 23 มกราคม 2507 ญี่ปุ่น ฮิโรยูกิ เอบิฮาระ WBC
23 มกราคม 2507 23 เมษายน 2508 ไทย โผน กิ่งเพชร WBC
23 เมษายน 2508 18 พฤศจิกายน 2508-ถูกปลด อิตาลี ซัลวาโตเร บูร์รูนี WBC
1 มีนาคม 2509 2 ตุลาคม 2511-แขวนนวม อาร์เจนตินา โอราซิโอ เอนริเก อักกาบาโย WBC
10 พฤศจิกายน 2511 23 กุมภาพันธ์ 2512 ไทย ชาติชาย เชี่ยวน้อย WBC
23 กุมภาพันธ์ 2512 20 มีนาคม 2513 เม็กซิโก เอเฟรน ตอร์เรส WBC
20 มีนาคม 2513 7 ธันวาคม 2513 ไทย ชาติชาย เชี่ยวน้อย WBC
7 ธันวาคม 2513 29 ธันวาคม 2514-ถูกปลด ฟิลิปปินส์ เออร์บิโต้ ซาลาวาเรีย WBC
3 มิถุนายน 2515 29 กันยายน 2515 เวเนซุเอลา เบตูลิโอ กอนซาเลซ WBC
29 กันยายน 2515 10 กรกฎาคม 2516-สละแชมป์ ไทย เวนิส บ.ข.ส. WBC
เวนิสสละแชมป์หลังจากชกกับ ฆูลิโอ เกร์เรโร เมื่อ 10 กรกฎาคม 2516 เบตูลิโอ กอนซาเลซชิงแชมป์ที่ว่างกับมิเกล กันโต โซลิสและเป็นฝ่ายชนะเมื่อ 4 สิงหาคม
4 สิงหาคม 2516 1 ตุลาคม 2517 เวเนซุเอลา เบตูลิโอ กอนซาเลซ WBC
1 ตุลาคม 2517 8 มกราคม 2518 ญี่ปุ่น โชจิ โอกูมะ WBC
8 มกราคม 2518 18 มีนาคม 2522 เม็กซิโก มิเกล กันโต WBC
18 มีนาคม 2522 18 พฤษภาคม 2523 เกาหลีใต้ พัก ชัน-ฮี WBC
18 พฤษภาคม 2523 12 พฤษภาคม 2524 ญี่ปุ่น โชจิ โอกูมะ WBC
12 พฤษภาคม 2524 20 มีนาคม 2525 เม็กซิโก อันโตนีโอ อาเบลาร์ WBC
20 มีนาคม 2525 24 กรกฎาคม 2525 โคลอมเบีย ปรูเดนซิโอ การ์โดนา WBC
24 กรกฎาคม 2525 6 พฤศจิกายน 2525 เม็กซิโก เฟรดิ กัสติโย WBC
6 พฤศจิกายน 2525 15 มีนาคม 2526 สาธารณรัฐโดมินิกัน เอเลออนซิโอ เมร์เซเดส WBC
15 มีนาคม 2526 27 กันยายน 2526 สหราชอาณาจักร ชาร์ลี มากรี WBC
27 กันยายน 2526 18 มกราคม 2527 ฟิลิปปินส์ แฟรงค์ เซเดโน WBC
18 มกราคม 2527 9 เมษายน 2527 ญี่ปุ่น โคจิ โคบายาชิ WBC
9 เมษายน 2527 8 ตุลาคม 2527 เม็กซิโก กาบริเอล เบร์นัล WBC
8 ตุลาคม 2527 24 กรกฎาคม 2531 ไทย สด จิตรลดา WBC
24 กรกฎาคม 2531 3 มิถุนายน 2532 เกาหลีใต้ คิม ยง-คัง WBC
3 มิถุนายน 2532 15 กุมภาพันธ์ 2534 ไทย สด จิตรลดา WBC
15 กุมภาพันธ์ 2534 23 มิถุนายน 2535 ไทย เมืองชัย กิตติเกษม WBC
23 มิถุนายน 2535 12 พฤศจิกายน 2540 รัสเซีย ยูริ อาร์บาชาค็อฟ WBC
12 พฤศจิกายน 2540 4 ธันวาคม 2541 ไทย ฉัตรชัย สาสะกุล WBC
4 ธันวาคม 2541 17 กันยายน 2542-ถูกปลด ฟิลิปปินส์ แมนนี ปาเกียว WBC
17 กันยายน 2542 19 พฤษภาคม 2543 ไทย เม็ดเงิน กระทิงแดงยิม WBC
19 พฤษภาคม 2543 2 มีนาคม 2544 ฟิลิปปินส์ มัลคอร์ม ทูนาเกา WBC
2 มีนาคม 2544 18 กรกฎาคม 2551 ไทย พงษ์ศักดิ์เล็ก ศิษย์คนองศักดิ์ WBC
18 กรกฎาคม 2551 29 พฤศจิกายน 2552 ญี่ปุ่น ไดซูเกะ ไนโต WBC
29 พฤศจิกายน 2552 27 มีนาคม 2553 ญี่ปุ่น โคกิ คาเมดะ WBC
27 มีนาคม 2553 2 มีนาคม 2555 ไทย พงษ์ศักดิ์เล็ก ศิษย์คนองศักดิ์ WBC
2 มีนาคม 2555 16 กรกฎาคม 2555 ฟิลิปปินส์ ซอนนี่ บอย จาโร WBC
16 กรกฎาคม 2555 8 เมษายน 2556 ญี่ปุ่น โทชิยูกิ อิงาราชิ WBC
8 เมษายน 2556 5 กันยายน 2557 ญี่ปุ่น อากิระ ยาเองาชิ WBC
5 กันยายน 2557 29 กันยายน 2559-สละแชมป์ นิการากัว โรมัน กอนซาเลซ WBC
4 มีนาคม 2560 20 พฤษภาคม​ 2560 เม็กซิโก ฆวน เอร์นันเดซ WBC
20 พฤษภาคม​ 2560 14 เมษายน​ 2561 - ถูกปลด ญี่ปุ่น ไดโงะ ฮิงะ WBC
15 เมษายน 2561 22 ธันวาคม 2561 นิการากัว กริสโตเปร์ โรซาเลส WBC
22 ธันวาคม​ 2561 5 ตุลาคม 2562 - ​สละแชมป์​ สหราชอาณาจักร ชาร์ลี เอ็ดเวิร์ดส์ WBC
20 ธันวาคม 2562 ปัจจุบัน​ เม็กซิโก ฆูลิโอ เซซาร์ มาร์ติเนซ WBC

WBA[แก้]

เริ่มตำแหน่ง
2 ตุลาคม 2505 12 มกราคม 2506 ญี่ปุ่น ไฟติง ฮาราดะ WBA
12 มกราคม 2506 18 กันยายน 2506 ไทย โผน กิ่งเพชร WBA
18 กันยายน 2506 23 มกราคม 2507 ญี่ปุ่น ฮิโรยูกิ เอบิฮาระ WBA
23 มกราคม 2507 23 เมษายน 2508 ไทย โผน กิ่งเพชร WBA
23 เมษายน 2508 1 พฤศจิกายน 2508-ถูกปลด อิตาลี ซัลวาโตเร บูร์รูนี WBA
1 มีนาคม 2509 2 ตุลาคม 2511-แขวนนวม อาร์เจนตินา โอราซิโอ เอนริเก อักกาบาโย WBA
30 มีนาคม 2512 19 ตุลาคม 2512 ญี่ปุ่น ฮิโรยูกิ เอบิฮาระ WBA
19 ตุลาคม 2512 5 เมษายน 2513 ฟิลิปปินส์ เบอร์นาเบ้ วิลลาแคมโป WBA
5 เมษายน 2513 22 ตุลาคม 2513 ไทย เบิกฤกษ์ ชาติวันชัย WBA
22 ตุลาคม 2513 24 มกราคม 2516-เสียชีวิต ญี่ปุ่น มาซาโอะ โอบะ WBA
17 พฤษภาคม 2516 18 ตุลาคม 2517 ไทย ชาติชาย เชี่ยวน้อย WBA
18 ตุลาคม 2517 1 เมษายน 2518 ญี่ปุ่น ซูซูมุ ฮานากาตะ WBA
1 เมษายน 2518 27 กุมภาพันธ์ 2519 ฟิลิปปินส์ เออร์บิโต้ ซาลาวาเรีย WBA
27 กุมภาพันธ์ 2519 2 ตุลาคม 2519 ปานามา อัลฟอนโซ โลเปซ WBA
2 ตุลาคม 2519 12 สิงหาคม 2521 เม็กซิโก กูติ เอสปาดัส WBA
12 สิงหาคม 2521 17 พฤศจิกายน 2522 เวเนซุเอลา เบตูลิโอ กอนซาเลซ WBA
17 พฤศจิกายน 2522 17 กุมภาพันธ์ 2523 ปานามา ลุยส์ อิบาร์รา WBA
17 กุมภาพันธ์ 2523 13 ธันวาคม 2523 เกาหลีใต้ คิม แตซิก WBA
13 ธันวาคม 2523 28 มีนาคม 2524 แอฟริกาใต้ ปีเตอร์ มาเทบูลา WBA
28 มีนาคม 2524 6 มิถุนายน 2524 อาร์เจนตินา ซานโตส ลาซิอาร์ WBA
6 มิถุนายน 2524 26 กันยายน 2524 ปานามา ลุยส์ อิบาร์รา WBA
26 กันยายน 2524 1 พฤษภาคม 2525 เม็กซิโก ฆวน เอร์เรรา WBA
1 พฤษภาคม 2525 19 กรกฎาคม 2528-สละแชมป์ อาร์เจนตินา ซานโตส ลาซิอาร์ WBA
5 ตุลาคม 2528 13 กุมภาพันธ์ 2530 ปานามา อิลาริโอ ซาปาตา WBA
13 กุมภาพันธ์ 2530 30 กันยายน 2532 โคลอมเบีย ฟิเดล บัสซา WBA
30 กันยายน 2532 10 มีนาคม 2533 เวเนซุเอลา เฮซุส โรฮัส WBA
10 มีนาคม 2533 29 กรกฎาคม 2533 เกาหลีใต้ อี ยุล-อู WBA
29 กรกฎาคม 2533 14 มีนาคม 2534 ญี่ปุ่น เลพเพิร์ด ทามากูมะ WBA
14 มีนาคม 2534 1 มิถุนายน 2534 โคลอมเบีย เอลบิส อัลบาเรซ WBA
1 มิถุนายน 2534 26 กันยายน 2535 เกาหลีใต้ คิม ยง-คัง WBA
26 กันยายน 2535 15 ธันวาคม 2535 เวเนซุเอลา อากิเลส กุซมัน WBA
15 ธันวาคม 2535 13 กุมภาพันธ์ 2537 เวเนซุเอลา ดาบิด กริมัน WBA
13 กุมภาพันธ์ 2537 24 พฤศจิกายน 2539 ไทย แสน ส.เพลินจิต WBA
24 พฤศจิกายน 2539 29 พฤษภาคม 2541 เวเนซุเอลา โฮเซ โบนิยา WBA
29 พฤษภาคม 2541 13 มีนาคม 2542 อาร์เจนตินา อูโก ราฟาเอล โซโต WBA
13 มีนาคม 2542 3 กันยายน 2542 เวเนซุเอลา เลโอ กาเมซ WBA
3 กันยายน 2542 5 สิงหาคม 2543 ไทย ศรพิชัย พิษณุราชันย์ WBA
5 สิงหาคม 2543 6 ธันวาคม 2556 ปวยร์โตรีโก เอริก โมเรล WBA
6 ธันวาคม 2556 18 มีนาคม 2550-ถูกปลด เวเนซุเอลา โลเรนโซ ปาร์รา WBA
19 มีนาคม 2550 31 ธันวาคม 2551 ญี่ปุ่น ทาเกฟูมิ ซากาตะ WBA
31 ธันวาคม 2551 7 กุมภาพันธ์ 2553 ไทย เด่นเก้าแสน เก้าวิชิต WBA
7 กุมภาพันธ์ 2553 4 มกราคม 2554-สละแชมป์ ญี่ปุ่น ไดกิ คาเมดะ WBA
4 มกราคม 2554 2 เมษายน 2554 ปานามา ลุยส์ กอนเซบซิโอน WBA
2 เมษายน 2554 17 พฤศจิกายน 2555 เม็กซิโก เอร์นัน มาร์เกซ WBA
17 พฤศจิกายน 2555 6 เมษายน 2556 สหรัฐ ไบรอัน วิลอเรีย ซูเปอร์แชมป์ WBA
17 พฤศจิกายน 2555 22 เมษายน 2558 อาร์เจนตินา ฆวน การ์โลส เรเบโก WBA
6 เมษายน 2556 14 กันยายน 2559-สละแชมป์ เม็กซิโก ฆวน ฟรันซิสโก เอสตราดา ซูเปอร์แชมป์ WBA
22 เมษายน 2558 (แชมป์ปกติ WBA)​,14 กันยายน 2559 (แชมป์โลก WBA)​ 14 กันยายน 2559 (แชมป์ปกติ WBA)​, 9 พฤศจิกายน​ 2560 (แชมป์โลก WBA)​ ญี่ปุ่น คาซูโตะ อิโอกะ WBA
24 กุมภาพันธ์​ 2561 ปัจจุบัน​ ยูเครน อา​ร์เตม ดาลาคิยัน WBA

IBF[แก้]

เริ่มตำแหน่ง
24 ธันวาคม 2526 20 ธันวาคม 2528 เกาหลีใต้ ซุน ชุนกวอน IBF
20 ธันวาคม 2528 27 เมษายน 2529 เกาหลีใต้ ชุง จง กวัน IBF
27 เมษายน 2529 2 สิงหาคม 2529 เกาหลีใต้ ช็อง บิว็อน IBF
2 สิงหาคม 2529 22 กุมภาพันธ์ 2530 เกาหลีใต้ ชิน ฮิซุบ IBF
22 กุมภาพันธ์ 2530 5 กันยายน 2530 ฟิลิปปินส์ โดดี บอย เปญาโลซา IBF
5 กันยายน 2530 16 มกราคม 2531 เกาหลีใต้ ชเว ชังโฮ IBF
16 มกราคม 2531 5 ตุลาคม 2531 ฟิลิปปินส์ โรแลนโด โบฮอล IBF
5 ตุลาคม 2531 7 มิถุนายน 2532 สหราชอาณาจักร ดยุก แมคเคนซี IBF
7 มิถุนายน 2532 11 มิถุนายน 2535 สหราชอาณาจักร เดฟ แมคออร์ลีย์ IBF
11 มิถุนายน 2535 29 พฤศจิกายน 2535 โคลอมเบีย โรโดลโฟ บลังโก IBF
29 พฤศจิกายน 2535 25 พฤศจิกายน 2537-แขวนนวม ไทย พิชิต ศิษย์บางพระจันทร์ IBF
18 กุมภาพันธ์ 2538 22 เมษายน 2538 โคลอมเบีย ฟรันซิสโก เตเฆโดร์ IBF
22 เมษายน 2538 2539-สละแชมป์ สหรัฐ แดนนี โรเมโร IBF
4 พฤษภาคม 2539 เมษายน 2542-สละแชมป์ สหรัฐ มาร์ก จอห์นสัน IBF
10 เมษายน 2542 16 ธันวาคม 2547 โคลอมเบีย อิเรเน ปาเชโก IBF
16 ธันวาคม 2547 7 กรกฎาคม 2550 อาร์มีเนีย วิค ดาร์ชิเนียน IBF
7 กรกฎาคม 2550 2552-สละแชมป์ ฟิลิปปินส์ โนนิโต โดแนร์ IBF
20 พฤศจิกายน 2552 13 มกราคม 2557-สละแชมป์ แอฟริกาใต้ โมรูตี มทาลาเน IBF
22 มกราคม 2557 25 พฤษภาคม 2559 ไทย อำนาจ รื่นเริง IBF
25 พฤษภาคม 2559 20 ธันวาคม 2559-สละแชมป์ ฟิลิปปินส์ จอห์นเรียล คาซิเมโร IBF
29 เมษายน 2560 11 เมษายน​ 2561 ฟิลิปปินส์ ดอนนี่ เนียเตส IBF
15 กรกฎาคม​ 2561 30 เมษายน 2564 แอฟริกาใต้ โมรูติ มทาลาเน IBF
30 เมษายน 2564 ปัจจุบัน สหราชอาณาจักร ซันนี เอดเวิร์ดส์ IBF

WBO[แก้]

เริ่มต้นตำแหน่ง
3 มีนาคม 2532 มีนาคม 2533-สละแชมป์ โคลอมเบีย เอลบิส อัลบาเรซ WBO
18 สิงหาคม 2533 18 มีนาคม 2535 เม็กซิโก อิสิโดร เปเรซ WBO
18 มีนาคม 2535 15 พฤษภาคม 2536 สหราชอาณาจักร แพต คลินตัน WBO
15 พฤษภาคม 2536 11 กุมภาพันธ์ 2538 แอฟริกาใต้ จาค็อป มัตลาลา WBO
11 กุมภาพันธ์ 2538 13 ธันวาคม 2539 เม็กซิโก อัลเบร์โต ฆิเมเนซ WBO
13 ธันวาคม 2539 14 สิงหาคม 2541 อาร์เจนตินา การ์โลส กาบริเอล ซาลาซาร์ WBO
14 สิงหาคม 2541 23 เมษายน 2542 เม็กซิโก รูเบน ซานเชซ เลออง WBO
23 เมษายน 2542 2542-สละแชมป์ สเปน โฆเซ โลเปซ บูเอโน WBO
18 ธันวาคม 2542 15 ธันวาคม 2543 เม็กซิโก อิสิโดร การ์ซิอา WBO
15 ธันวาคม 2543 8 กันยายน 2544-สละแชมป์ เม็กซิโก เฟร์นันโด มอนติเอล WBO
4 พฤษภาคม 2545 13 กรกฎาคม 2545 นิการากัว อาโดนิส ริบาส WBO
13 กรกฎาคม 2545 พฤษภาคม 2553-สละแชมป์ อาร์เจนตินา โอมาร์ นาร์บาเอซ WBO
12 มิถุนายน 2553 16 กรกฎาคม 2554 เม็กซิโก ฆูลิโอ เซซาร์ มิรันดา WBO
16 กรกฎาคม 2554 6 เมษายน 2556 สหรัฐ ไบรอัน วิลอเรีย WBO
6 เมษายน 2556 14 กันยายน 2559-สละแชมป์ เม็กซิโก ฆวน ฟรันซิสโก เอสตราดา WBO
5 พฤศจิกายน 2559 28 มิถุนายน​ 2560 จีน โจว ซื่อหมิง WBO
28 มิถุนายน​ 2560 24 กันยายน​ 2561 ญี่ปุ่น โช คิมูระ WBO
24 กันยายน 2561 31 มกราคม 2563 - ​สละแชมป์ ญี่ปุ่น โคเซ ทานากะ WBO
6 พฤศจิกายน​ 2563 ปัจจุบัน​ ญี่ปุ่น จุนโตะ นากาตานิ WBO

หมายเหตุ[แก้]

1 เป็นที่โต้แย้ง ดูที่ เปโดร การาสโก
2 ตำแหน่งแชมป์ถูกยกเลิก
3 แขวนนวมขณะเป็นแชมป์ ตำแหน่งแชมป์ถูกยกเลิก
4สถาบันยกเลิกการยอมรับว่าเป็นแชมป์โลกเพราะปฏิเสธการป้องกันแชมป์กับรองแชมป์อันดับหนึ่งของสถาบัน

อ้างอิง[แก้]

  1. Mullan, Harry (1996). The Ultimate Encyclopedia of Boxing. London, England: Carlton Books. p. 186. ISBN 0-7858-0641-5.
  2. Mullan (1996). The Ultimate Encyclopedia of Boxing. p. 186.
  3. 3.0 3.1 Mullan (1996). The Ultimate Encyclopedia of Boxing. p. 187.