ข้ามไปเนื้อหา

รายชื่อเมืองหลวงของรัฐและดินแดนสหภาพในประเทศอินเดีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก List of state and union territory capitals in India)

ประเทศอินเดียเป็นสาธารณรัฐสหพันธ์ภายใต้ระบบรัฐสภา ประกอบด้วย 28 รัฐ และ 8 ดินแดนสหภาพ[1]

รัฐ
ที่ รัฐ เมืองหลวงฝ่ายบริหาร เมืองหลวงฝ่ายนิติบัญญัติ เมืองหลวงฝ่ายยุติธรรม ปีจัดตั้ง เมืองหลวงเก่า
1 กรณาฏกะ เบงคลูรู เบงคลูรู (ฤดูร้อน)
เบลคาวี (ฤดูหนาว)
เบงคลูรู 1956  —
2 กัว ปณชี[a] ปูร์วอริง มุมไบ 1987  —
3 เกรละ ติรุวนันตปุรัม ติรุวนันตปุรัม เอรนากุลัม 1956  —
4 คุชราต คานธีนคร คานธีนคร อะห์มดาบาด 1970 อะห์มดาบาด (1960–1970)
5 ฉัตตีสครห์ รายปุระ[b] รายปุระ พิลาสปุระ 2000  —
6 ฌารขัณฑ์ รางจี รางจี รางจี 2000  —
7 ตริปุระ อัครตละ อัครตละ อัครตละ 1972  —
8 เตลังคานา ไฮเดอราบาด ไฮเดอราบาด ไฮเดอราบาด 2014  —
9 ทมิฬนาฑู เจนไน[c] เจนไน เจนไน 1956  —
10 นาคาแลนด์ โกหิมา โกหิมา คุวาหาฏี 1963  —
11 เบงกอลตะวันตก โกลกาตา โกลกาตา โกลกาตา 1950  —
12 ปัญจาบ จัณฑีครห์ จัณฑีครห์ จัณฑีครห์ 1966  —
13 พิหาร ปัฏนา ปัฏนา ปัฏนา 1950  —
14 มณีปุระ อิมผาล อิมผาล อิมผาล 1972  —
15 มหาราษฏระ มุมไบ[d] มุมไบ (ฤดูร้อน)
นาคปุระ (ฤดูหนาว)
มุมไบ 1960  —
16 มัธยประเทศ โภปาล โภปาล ชพัลปุระ 1956  —
17 มิโซรัม ไอซอล ไอซอล คุวาหาฏี 1987  —
18 เมฆาลัย ชิลลอง ชิลลอง ชิลลอง 1972  —
19 ราชสถาน ชัยปุระ ชัยปุระ โชธปุระ 1950  —
20 สิกขิม กังต็อก[e] กังต็อก กังต็อก 1975  —
21 หรยาณา จัณฑีครห์ จัณฑีครห์ จัณฑีครห์ 1966  —
22 หิมาจัลประเทศ ศิมลา ศิมลา (ฤดูร้อน)
ธรรมศาลา (ฤดูหนาว)[4]
ศิมลา 1971  —
23 อรุณาจัลประเทศ อิฏานคร อิฏานคร คุวาหาฏี 1987  —
24 อัสสัม ทิสปุระ ทิสปุระ คุวาหาฏี 1972 ชิลลอง[f] (1950–1972)
25 อานธรประเทศ อมราวตี อมราวตี อมราวตี 2017 ไฮเดอราบาด[g] (1956–2017)
26 อุตตรประเทศ ลัคเนา ลัคเนา อลาหาบาด 1950  —
27 อุตตราขัณฑ์ เดห์ราดูน ภรารีไสณ์ (ฤดูร้อน)[6]
เดห์ราดูน (ฤดูหนาว)
ไนนีตาล 2000  —
28 โอฑิศา ภุพเนศวร ภุพเนศวร กฏกะ 1950
ดินแดนสหภาพ
ที่ ดินแดนสหภาพ เมืองหลวงฝ่ายบริหาร เมืองหลวงฝ่ายนิติบัญญัติ เมืองหลวงฝ่ายยุติธรรม ปีจัดตั้ง
1 จัณฑีครห์  – จัณฑีครห์ 1966
2 ศรีนคร (ฤดูร้อน)
ชัมมู (ฤดูหนาว)
ศรีนคร (ฤดูร้อน)
ชัมมู (ฤดูหนาว)
ศรีนคร (ฤดูร้อน)
ชัมมู (ฤดูหนาว)
2019
3 ดามัน  – มุมไบ 2020
4 นิวเดลี นิวเดลี นิวเดลี 1956
5 ปุฑุเจรี ปุฑุเจรี เจนไน 1951
6 กวรัตติ  – เอรนากุลัม 1956
7 เลห์ (ฤดูร้อน)
คาร์กิล (ฤดูหนาว)
 – ศรีนคร (ฤดูร้อน)
ชัมมู (ฤดูหนาว)
2019
8 พอร์ตแบลร์  – โกลกาตา 1956

หมายเหตุ

[แก้]
  1. ปณชีเป็นเมืองหลวงของกัวตั้งแต่ ค.ศ. 1843 ในสมัยการปกครองของโปรตุเกส[2]
  2. มีแผนให้นยารายปุระเป็นเมืองหลวงของรัฐฉัตตีสครห์แทนรายปุระ
  3. เจนไน (มัทราส) เป็นเมืองหลวงของเขตปกครองมัทราสตั้งแต่ ค.ศ. 1839 เขตปกครองมัทราสกลายเป็นรัฐมัทราสใน ค.ศ. 1956 และรัฐมัทราสเปลี่ยนชื่อเป็นรัฐทมิฬนาฑูใน ค.ศ. 1968
  4. มุมไบ (บอมเบย์) เป็นเมืองหลวงของจังหวัดบอมเบย์จนถึง ค.ศ. 1950 จากนั้นบอมเบย์ได้กลายเป็นเมืองหลวงของรัฐบอมเบย์ ต่อมารัฐบอมเบย์ถูกแบ่งออกเป็นรัฐคุชราตและรัฐมหาราษฏระใน ค.ศ. 1960
  5. กังต็อกเป็นเมืองหลวงของสิกขิมมาตั้งแต่ ค.ศ. 1890 ราชอาณาจักรสิกขิมเข้าร่วมสหภาพอินเดียใน ค.ศ. 1975[3]
  6. ชิลลองเป็นเมืองหลวงร่วมของรัฐอัสสัมและรัฐเมฆาลัยจนถึง ค.ศ. 1972[5]
  7. ไฮเดอราบาดเป็นเมืองหลวงร่วมโดยนิตินัยของรัฐอานธรประเทศและรัฐเตลังคานาจนถึง ค.ศ. 2024

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Jammu and Kashmir bifurcated: India has one less state, gets two new UTs in J&K, Ladakh". India Today. 31 October 2019. สืบค้นเมื่อ 25 December 2020.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  2. Ring 1996, p. 288.
  3. Spate 1953, p. 200.
  4. "Dharamshala Declared Second Capital of Himachal". www.hillpost.in (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 21 January 2017.
  5. Baruah 1999, p. xiii.
  6. "Bhararisain declared as summer capital of Uttarakhand". www.timesnownews.com (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2021-11-24.